ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 11:56:57 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ
ข้อความโดย: โลกส่วนตัว
« เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 09:00:56 pm »

พูดถึงเรื่องอัตตาตัวตนบางคนฟังไม่ถูก จึงขอพูดถึงอาการของอัตตาที่ค่อนข้างชัดเจน นั้นคือสิ่งที่เราเรียกว่าศักดิ์ศรี

เราควรจะดูตัวเองให้เป็นว่า

ศักดิ์ศรีของเราอยู่ตรงไหน
เพราะศักดิ์ศรีเป็นจุดอ่อนของเรา
เป็นทีเกิดของทุกข์

สิ่งใดก็ตามแม้แต่ขี้ปะติ๋ว
หากกระทบศักดิ์ศรีของเราเมื่อใดก็เป็นเรื่องเมื่อนั้นทันที

ถ้าเราเอาการรักษาศักดิ์ศรีเป็นเครื่องตัดสินว่า

เราจะทำหรือไม่ทำอะไรในชีวิต
เราควรจะระวังให้ดีว่า

เราผูกศักดิ์ศรีของเราไว้กับอะไรบ้าง

ตราบใดที่เรายังเป็นปุถุชนคงยังไม่พ้นความยึดมั่นในศักดิ์ศรี
แต่อย่างน้อยที่สุดเราควรจะพัฒนามัน
จนขึ้นอยู่กับการเป็นพุทธมามกะมากกว่าอย่างอื่น

การมีอัตตาหรือการเป็นชาวพุทธที่ดียังมีโทษอยู่
แต่สำหรับนักปฏิบัติธรรมอาจใช้ความรู้สึกในศักดิ์ศรี
มาหนุนกำลังความละอายต่อบาปในเบื้องต้น
และเป็นขั้นตอนที่จะนำไปสู่ความปลอดภัยในที่สุด

ทุกวันนี้เราเอาอะไรมาเป็นศักดิ์ศรีของตน ขอให้ดูให้ดี
เพราะถ้าไม่ระวังในเรื่องนี้ เดี๋ยวจะกีดกั้นความเจริญในธรรม
มัวแต่เป็นห่วงเรื่องมายา
คือเอาแต่กังวลเรื่องความรู้สึกของเขาต่อเรา อย่างนี้ก็ยุ่ง

ถ้าศักดิ์ศรีของเราขึ้นอยู่กับความมั่นใจว่า

เขารักเราจริง เขาเคารพเราจริง เขากลัวเราจริง ฯลฯ
อย่างนี้ไม่มีวันที่จะสงบได้
เราจะอ่อนไหวต่อการกระทำของคนอื่นตลอดเวลา

เขาทำอย่างนั้นแปลว่าอะไร
เขาไม่ทำอย่างนั้นแปลว่าอะไร
เขาพูดอย่างนั้นแปลว่าอะไร
เขาเงียบอย่างนั้นแปลว่าอะไร
เขายิ้นอย่างนั้นแปลว่าอย่างไร
เขาหน้าตาเฉยอย่างนั้นแปลว่าอย่างไร
เป็นนักแปลอย่างนี้เหน็ดเหนื่อยมาก

    (คัดลอกบางตอนมาจาก “ปัจจุบันสดใส” โดย พระอาจารย์ชยสาโรภิกขุ,
    พิมพ์ครั้งที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๓ โดย กองทุนสื่อธรรมะทอสี และมูลนิธิปัญญาประทีป, หน้า ๑๖-๑๙)