ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 23, 2010, 10:01:44 pm »

 :13: ขอบใจจ้า เหมือนรูปไม่ขึ้นนะ หรือว่าพี่ไม่เห็นคนเดียวครับ  :13:
ข้อความโดย: Plusz
« เมื่อ: กรกฎาคม 23, 2010, 09:30:59 pm »



จุดประกายจินตนาการ  เพียงก้าวแรกที่เจ้าของบ้านใจดีเปิดประตูต้อนรับ เราก็ถูกสะกดไว้ด้วยความสวยงามของต้นไม้ลวดที่สูงใหญ่ราว 2 เมตร ที่แผ่กิ่งก้านสาขาอ่อนช้อยอยู่ภายในบ้าน ด้วยเส้นสายลายถักที่สอดประสานกันอย่างประณีตบรรจง ต้นไม้นี้จึงไม่เหลือความแข็งกระด้างซึ่งเป็นธรรมชาติของเส้นลวดให้เราได้ สัมผัสถึง คุณเต๋าเล่าถึงแรงบันดาลใจว่าแรกเริ่มเดิมทีนั้น สนใจปลูกบอนไซตามคุณพ่อ ซึ่งเป็นงานที่ต้องทำงานอยู่กับลวดตลอดเวลา เมื่อมีขยะเหลือใช้จากลวดจึงเริ่มนำมาประดิดประดอย  “เศษลวดไม่ว่าจะสั้นหรือยาวแค่ไหนให้เก็บไว้ เพราะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ สร้างสรรค์งานได้ อย่างเศษลวดจากราวตากผ้า ไม้แขวนเสื้อ ขยะเศษลวดทั้งจากที่บ้าน ที่ทำงาน นำมาให้ได้ทั้งนั้น”  หลังจากจดๆ จ้องๆ อยู่นาน ก็ชักจะคันไม้คันมือ อยากลองทำกับเขาบ้าง เราไปลงมือทำกันดีกว่าค่ะ งานลวด ไม่ยากอย่างที่คิด  คุณเต๋าเล่าถึงงานลวดว่ามีด้วยกัน 3 ประเภท คือ ดัด พัน และถัก  “สำหรับคนที่เพิ่งเริ่มทำ เริ่มจากชิ้นเล็กๆ ง่ายๆ ตามที่ใจเราชอบ สังเกตจากสิ่งรอบๆ ตัว เช่น ตัวสัตว์ต่างๆ ดอกไม้ แล้วร่างรูปแบบง่ายๆ ในกระดาษก่อน จากนั้นนำเส้นด้ายมาขดตามที่รูปร่างตามเราต้องการ เพื่อกะความยาวของลวดที่จะใช้ ตัดลวดตามความยาวนั้น แล้วค่อยลงมือดัดทำ เศษลวดเก่าออกสีหมอง ก็สามารถนำมาพ่นสีสเปรย์ให้ใหม่ได้” จากการพัฒนางานอย่างไม่หยุดนิ่ง คุณเต๋าก็สามารถผลิตของใช้ต่างๆ ออกมามากมาย เช่น ที่หนีบนามบัตร ที่แขวนต่างหู เชิงเทียน โคมไฟ ทั้งยังนำมาผสมผสานเข้ากับวัสดุอื่นๆ ได้ตามจินตนาการเช่น ตอไม้ ขวดแก้ว ลูกปัด พลาสติก จนได้ของใช้ที่สวยงามแปลกตา คุยกันไปคุยกันมา ในที่สุด มือใหม่อย่างเราก็สามารถสร้างสรรค์ที่เสียบนามบัตรที่มีรูปร่างสีสรรค์ออกมา ได้สวยไม่น้อย ตอนนี้เห็นด้วยกับคุณเต๋าร้อยเปอร์เซ็นต์แล้วค่ะว่า งานลวดทำให้จินตนาการเป็นจริงได้ง่ายนิดเดียว 
*สนใจเรียนฟรี คุณสมชาย แซ่ตั้ง (เต๋า) สอนอยู่ที่ ตลาดนัดสนามหลวง 2

เคดริต:http://women.sanook.com