ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 01, 2011, 10:14:25 am »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่สาว
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 30, 2010, 11:10:58 pm »

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หน้าที่ 384
   
      ๘. เรื่องภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป   [๒๕๙]
   
                           ข้อความเบื้องต้น

           พระศาสดา  เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน  ทรงปรารภภิกษุประมาณ
   ๕๐๐ รูป  ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า   "วสฺสิกา  วิย  ปุปฺผานิ"  เป็นต้น.
           ดังได้สดับมา    ภิกษุเหล่านั้นเรียนพระกัมมัฏฐานในสำนักของพระ-
   ศาสดา     บำเพ็ญสมณธรรมอยู่ในป่า     เห็นดอกมะลิที่บานแล้วแต่เช้าตรู่
   หลุดออกจากขั้วในเวลาเย็น    จึงพากันพยายาม  ด้วยหวังว่า  " พวกเราจัก
   หลุดพ้นจากกิเลสมีราคะเป็นต้น  ก่อนกว่าดอกไม้ทั้งหลายหลุดออกจากขั้ว.
                     
                     ภิกษุควรพยายามให้หลุดพ้นจากวัฏทุกข์

           พระศาสดาทรงตรวจดูภิกษุเหล่านั้น     แล้วตรัสว่า   " ภิกษุทั้งหลาย
   ธรรมดาภิกษุพึงพยายามเพื่อหลุดพ้นจากวัฏทุกข์ให้ได้     ดุจดอกไม้ที่หลุด
   จากขั้วฉะนั้น."     ประทับนั่งที่พระคันธกุฎีนั่นเอง    ทรงเปล่งพระรัศมีไป
   แล้ว   ตรัสพระคาถานี้ว่า:-

      ๘.        วสฺสิกา  วิย   ปุปฺผานิ           มทฺทวานิ  ปมุญฺจติ
           เอว  ราคญฺจ    โทสญฺจ         วิปฺปมุญฺเจถ  ภิกฺขโว.
                   " ภิกษุทั้งหลาย   พวกเธอจงปลดเปลื้องราคะและ
           โทสะเสีย      เหมือนมะลิเครือปล่อยดอกทั้งหลายที่
           เหี่ยวเสียฉะนั้น."

                                   แก้อรรถ

           มะลิ  ชื่อว่า  วสฺสิกา   ในพระคาถานั้น.
           บทว่า   มชฺชวานิ๑     แปลว่า  เหี่ยวแล้ว.
   
   ๑. สี.  ยุ. มทฺทวานิ.  ม.  มจฺจวานิ.  บาลี  มทฺทวานิ.
   
    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หน้าที่ 385
   
           ท่านกล่าวคำอธิบายนี้ไว้ว่า :-
           " มะลิเครือ   ย่อมปล่อยคือย่อมสลัดซึ่งดอกที่บานแล้วในวันวาน   ใน
   วันรุ่งขึ้นเป็นดอกไม้เก่า     เสียจากขั้วฉันใด;    แม้ท่านทั้งหลายก็จงปลด-
   เปลื้องโทษทั้งหลายมีราคะเป็นต้นฉันนั้นเถิด."                               
           ในกาลจบเทศนา  ภิกษุแม้ทั้งหมดตั้งอยู่ในพระอรหัตแล้ว  ดังนี้แล.
   
                            เรื่องภิกษุประมาณ  ๕๐๐  รูป  จบ.   
   
http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=790.0
http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=2129.0