ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 01, 2011, 10:14:45 am »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่สาว
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 30, 2010, 11:12:14 pm »

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เล่ม ๖ - หน้าที่ 356
   
   บทว่า  วิญฺญาณฏฺฐิติโย  ความว่า ที่ตั้งแห่งปฏิสนธิวิญญาณ. คือ
   สวิญญาณกขันธ์นั้นแล(ขันธ์มีวิญญาณ). ในบทเหล่านั้น บทว่า เสยฺยถาปิ
   เป็นนิบาตลงในอรรถแสดงตัวอย่าง.   บทว่า  มนุสฺสา คือ มนุษย์มากมาย
   แม้ในจักรวาลอันหาประมาณมิได้ย่อมไม่มี  มนุษย์สองคนเหมือนเป็นอย่าง
   เดียวกันด้วยผิวพรรณและทรวดทรงเป็นต้น.  แม้มนุษย์เหล่าใดมีผิวพรรณ
   หรือทรวดทรงเหมือนกัน      มนุษย์เหล่านั้นก็ไม่เหมือนกันด้วยการแลการ
   
   พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เล่ม ๖ - หน้าที่ 357
   
   เหลียวเป็นต้น.   เพราะฉะนั้น  ท่านจึงกล่าวว่า   มีกายต่าง ๆ กัน.   ส่วน
   ปฏิสนธิสัญญาของสัตว์เหล่านั้นเป็นติเหตุกะบ้าง   ทุเหตุกะบ้าง   อเหตุกะ-
   บ้าง    เพราะฉะนั้น    ท่านจึงกล่าวว่า    มีสัญญาต่าง ๆ กัน.     บทว่า
   เอกจฺเจ  จ  เทวา   ได้แก่   เทพชั้นกามาวจร ๖ ชั้น.       จริงอยู่   บรรดา
   เทพเหล่านั้น    บางพวกมีกายเขียว     บางพวกมีผิวพรรณเหลืองเป็นต้น.
   แต่สัญญาของเทพเหล่านั้น   เป็นติเหตุกะบ้าง   ทุเหตุกะบ้าง   เป็นอเหตุกะ
   ไม่มี.     บทว่า   เอกจฺเจ  จ  วินิปาติกา  วินิปาติกะ   (ผู้ตกไปในอบาย)
   บางพวก    คือเวมานิกเปรตเหล่าอื่นมีอาทิอย่างนี้     คือยักษิณีผู้เป็นมารดา
   ของปุนัพพสุ     ยักษิณีผู้เป็นมารดาของปิยังกระ     ยักษิณีผู้เป็นมิตรของ
   ปุสสะผู้ยินดีในธรรม  พ้นจากอบาย  ๔.   ร่างกายของเวมานิกเปรตเหล่านั้น
   ต่าง ๆ กันด้วยสี  มีผิวขาว  ดำ  ผิวทอง   และสีนิลเป็นต้น  ด้วยลักษณะมี
   ผอม อ้วน เตี้ย สูง.   แม้สัญญาก็ต่างกันด้วยสามารถแห่งติเหตุกะ  ทุเหตุกะ
   และอเหตุกะ   เหมือนของมนุษย์ทั้งหลาย.    แต่เวมานิกเปรตเหล่านั้นไม่มี
   ศักดิ์มากเหมือนทวยเทพ     มีศักดิ์น้อยเหมือนคนจนหาของกินและเครื่อง
   ปกปิดได้ยาก   ถูกทุกข์บีบคั้นอยู่.   บางพวกได้รับทุกข์ในข้างแรม  ได้รับ
   สุขในข้างขึ้น.     เพราะฉะนั้น  ท่านจึงเรียกว่า  วินิปาติกะ   เพราะตกไป
   จากการสะสมความสุข.    แต่เวมานิกเปรตที่เป็นติเหตุกะ   ย่อมเป็นผู้บรรลุ
   ธรรมได้ดุจการบรรลุธรรมของยักษิณีผู้เป็นมารดาของปิยังกระเป็นต้น.
   บทว่า    พฺรหฺมกายิกา    พวกเทพนับเนื่องในหมู่พรหม   ได้แก่  พรหม-
   ปาริสัชชะ  พรหมปุโรหิตะและมหาพรหม.    บทว่า  ปํมานิพฺพตฺตา  ผู้
   เกิดในภูมิปฐมฌาน     คือหมู่พรหมทั้งหมดนั้นเกิดด้วยปฐมฌาน.     แต่
   พรหมปาริสัชชะเกิดด้วยปริตตฌาน    พรหมปุโรหิตะเกิดด้วยมัชฌิมฌาน.
   
   พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เล่ม ๖ - หน้าที่ 358
   
   อนึ่ง   กายของพรหมเหล่านั้นมีรัศมีซ่านออกไป.        มหาพรหมเกิดด้วย
   ปณีตฌาน.   แต่กายของมหาพรหมมีรัศมีซ่านออกไปยิ่งกว่า.  เพราะฉะนั้น
   พรหมเหล่านั้น     ท่านจึงกล่าวว่า    มีกายต่างกัน     มีสัญญาอย่างเดียวกัน
   เพราะมีกายต่างกัน      มีสัญญาอย่างเดียวกันด้วยอำนาจปฐมฌาน.      สัตว์
   ทั้งหลายในอบาย ๔ ก็เหมือนเทพเหล่านั้น.     เพราะในนรก    สัตว์นรก
   บางพวกมีร่างกายคาวุตหนึ่ง   บางพวกกึ่งโยชน์  บางพวก ๓ คาวุต.   ส่วน
   ของเทวทัตมีร่างกาย  ๑๐๐ โยชน์.  แม้ในเดียรัจฉานบางพวกก็เล็ก บางพวก
   ก็ใหญ่.      แม้ในเปรตวิสัย     บางพวก ๖๐ ศอก     บางพวก  ๘๐ ศอก
   บางพวกผิวพรรณงาม  บางพวกผิวพรรณซูบซีด.   อนึ่ง แม้กาลกัญชิกาสูร
   ก็สูง  ๑๐ โยชน์    ชื่อว่าทีฆปิฏฐิกเปรต  (เปรตมีหลังยาว).      แต่สัญญา
   ของสัตว์นรกทั้งหมด   เป็นอกุศลวิบาก   เป็นอเหตุกะ.   ด้วย ประการฉะนี้
   แม้สัตว์ในอบายก็เรียกได้ว่ามีกายต่างกัน    มีสัญญาอย่างเดียวกัน.
   
http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=194.0
http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=2132.0