ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 10:57:38 pm »

 :13: ขอบคุณครับพี่เล็ก
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 08:40:34 pm »

พอใจ  ในสิ่งที่ตนเองมีอยู่


อนุโมทนา  สาธุ
ขอบคุณมากมายจร้า
ข้อความโดย: สายลมที่หวังดี
« เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 08:35:59 pm »

อนุโมทนา ขอบคุณค่ะคุณเล็ก :45:
ข้อความโดย: lek
« เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 07:16:24 pm »

"สำหรับผู้ที่รู้จักพอ แม้จะยากจนข้นแค้นก็ยังมีความสุข
ผู้ที่ไม่รู้จักพอแม้จะร่ำรวยมียศถาบรรดาศักดิ์ก็ยัง มีความทุกข์"

หากต้องการมีความสุข จะต้องมีความพึงพอใจในสิ่งที่ตนเป็นและมีอยู่
สามารถชื่นชมกับสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิตประจำวันได้
โดยไม่คิดน้อยใจหรือคิดว่าตนเองต่ำต้อยด้อยค่า

ผู้ที่จะมีความสุขได้นั้นคือผู้ที่พอใจในสิ่งที่ตนเอ งมี
ขอเพียงแต่มีความพยายามในการทำให้ประสบความสำเร็จก็เพียงพอ

ไม่เป็นทุกข์เป็นร้อนกับสิ่งที่ไม่สามารถจะหามาได้
และทำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด

ไม่หวังผลเลอเลิศจนเกินความสามารถของตนเอง
รู้จักกำหนดขอบเขตของความปรารถนา

สิ่งใดที่ควรได้ควรมี ก็จงพยายามทำให้สำเร็จ
สิ่งใดเกินกำลัง ก็จงยอมรับว่าแม้ยังไม่สามารถไขว่คว้ามาได้
ก็จะหาหนทางในคราวต่อไปเมื่อโอกาสมาถึงพร้อม

และที่สำคัญก็คือ

อย่าหาทุกข์ใส่ตัว ใช้ชีวิตอย่างราบเรียบสมถะ
มีความขยันอดทน และไม่อายทำกิน
อย่าก่อหนี้ก่อสินเพิ่มขึ้นดั่งพุทธภาษิตสอนใจให้คิด ว่า

"เข้านอนโดยไม่มีอาหารค่ำ ดีกว่าตื่นขึ้นมาพร้อมกับมีหนี้สิน"

เพราะการมีหนี้สินมากเกินไป
อาจสร้างปัญหาในระยะยาว
จนไม่อาจจะลืมตาอ้าปากได้ในโอกาสต่อไป



อุปมา...อริยสัจจ์
อุปมา...ดั่งว่า...

 
 


1. ทุกขสัจ...
อุปมาเหมือนฝั่งนี้...

2. สมุทัยสัจ...
อุปมาเหมือนห้วงน้ำใหญ่...

3. นิโรธสัจ...
อุปมาเหมือนฝั่งโน้น...

4. มรรคสัจ...
อุปมาเหมือนพยายามที่ยังตนให้ถึงฝั่งโน้น...

อีกอุปมาหนึ่ง ท่านเปรียบไว้ดังนี้คือ...
1. ทุกขสัจ...
อุปมาเหมือนภัย...

2. สมุทัยสัจ...
อุปมาเหมือนเหตุเกิดของภัย...

3. นิโรธสัจ...
อุปมาเหมือนการปราศจากภัย

4. มรรคสัจ...
อุปมาเหมือนอุบายเป็นเหตุให้ปราศจากภัย...ฯ

~~พระธรรมธีรราชมหามุนี~~
วัดมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร

__________________
ขอบพระคุณที่มา จากคุณนริศรา