ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 20, 2011, 01:32:31 pm »

 :06: เห็นในข่าวครับ ช่วงนี้โดนจับเยอะนะครับ น่ากลัวจริงๆ
 :45: ขอบคุณมากๆครับพี่หนุ่ม
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 07:25:51 pm »

ระวังถูกหลอก! สรรพากรยันไม่มีคืนเงินภาษีทาง ATM



เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม

           ช่วง นี้มีข่าวเรื่องการหลอกโอนเงินให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นตามสื่อทีวีหรือตามหน้าหนังสือพิมพ์ โดยแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ธนาคาร อ้างว่ามีลูกค้าโอนเงินเข้าบัญชีผิด หรือ เป็นหนี้บัตรเครดิต เมื่อเหยื่อหลงเชื่อไปทำธุรกรรมทางการเงินผ่านบัตร ATM ก็จะสูญเงินไปจนเกลี้ยง

          ล่า สุด แก๊ง Call Center ออกอาละวาดอีกครั้ง แอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากรโทรศัพท์ไปลวงเหยื่ออ้างว่า จะคืนเงินเสียภาษีประจำปีผ่านทางระบบ ATM  โดยสอบถามข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับเหยื่อ ไม่ว่าจะเป็น  ชื่อ – นามสกุล หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน และหมายเลขบัญชีธนาคาร อ้างว่า เป็นหลักฐานในการขอคืนภาษี พร้อมทั้งให้หลอกล่อเหยื่อเดินไปรอที่ตู้ ATM เพื่อรอรับเงินที่โอนไปให้
 
           หลังจากนั้น จะหลอกให้เหยื่อทำธุรกรรมทางการเงินผ่านบัตร ATM  โดยจะให้เหยื่อเลือกเมนูภาษาอังกฤษ ในการกดรับเงินคืนภาษี เมื่อเหยื่อหลงเชื่อและไม่รู้คำสั่งภาษาอังกฤษ ทำตามขั้นตอนให้กด ตรงโน่นตรงนี้บนตู้ ATM ท้ายที่สุดเมื่อเหยื่อหลงเชื่อทำตามขั้นตอนทุกอย่าง สายโทรศัพท์ที่มีการสนทนาก็ถูกตัดไปทันที เงินคืนภาษีก็ไม่ได้ แถมมารู้อีกทีว่าถูก "หลอกโอนเงินในบัญชีตัวเองให้เหยื่อจนเกลี้ยงไปแล้ว" ต้อง มานั่งเสียใจภายหลังเพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยกลุ่มเป้าหมายของมิจฉาชีพกลุ่มนี้ มีตั้งแต่ข้าราชการระดับชั้นผู้ใหญ่ พนักงานบริษัทเอกชน ไปจนถึงกลุ่มหนุ่มสาวโรงงาน

          ทั้ง นี้ กรมสรรพากร ชี้แจงว่า แม้ในปัจจุบัน กรมสรรพากรได้ปรับระบบบัญชีสำหรับการหักภาษี ณ ที่จ่ายประจำปี 2553 ให้สามารถยื่นภาษีผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้ก็ตาม แต่ในการคืนเงินภาษีนั้น กรมสรรพากรจะสั่งจ่ายเป็นเช็คเงินสดในนามธนาคารกรุงไทย  โดยจะระบุชื่อผู้รับเงินคืนขีดค่อม และในการขึ้นเงินจะต้องนำเช็คสั่งจ่ายไปเข้าบัญชีเท่านั้น หากมีข้อสงสัยให้ติดต่อมาสอบถามเจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากร ที่เบอร์ 0-2272-8000

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจาก มติ่ชนออนไลน์ และ คมชัดลึก

http://hilight.kapook.com/view/55400