ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 10:37:38 pm »

 :13: อนุโมทนาสาธุครับ พี่แทน พี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 08:01:20 pm »



 :13:  :12: :07:

ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 06:55:42 pm »


๑)คนธรรมดาทั่ว ๆ ไป รู้จักเพียงความสงบกาย หือเรียกว่ากายวิเวก กายวิเวก - สงบสงัดทางกาย ไม่มีอะไรกวน; การวิเวก ไม่มีอะไรมารบกวนกาย รวบกวนให้รำคาญ ก็เรียว่าความสงบ, มักจะรู้จักเพียงว่า สงบคืออย่างนี้ แล้วก็หนีออกมาอยู่ในป่า หรือที่ไปอยู่คนเดียว ไม่มีใครกวน

(๒) แต่นั้น ยังไม่ใช่ความสงบที่ถึงที่สุด, ยังมีความรบกวนในทางจิต , คือจิตยังมีความคิดนึก ที่เรียกว่านิวรณ์ หรือกิเลสบางอย่างรบกวน, รบกวนในจิตมันยิ่งกว่ารวบกวนกาย, ดูให้ดี; จะต้องหาวิธี หยุดการรบกวนในทางจิต

(๓) ที่นี้ยังมีความรบกวนที่สูงไปกว่านั้นอีกชั้นหนึ่งคือ ความรบกวนในทางสติปัญญา ถ้าเราโง่เรามีความสงบไม่ได้ เพราะว่าเราจะสงสัยอยู่เรื่อย ต่อเมื่อเรารู้ถึงที่สุด ไม่ต้องการจะรู้อะไรอีกต่อไป จนถึงกับว่าไม่ต้องการอะไรอีก : ไม่ต้องการการเป็นอยู่ ไม่ต้องการการปรุงแต่งอะไรอีก ; นั่นแหละจึงจะสงบถึงที่สุด นั้นคือพระนิพพาน


จากหนังสือ "ความมีนิสัยน้อมเอียงไปสู่ความสงบ" พุทธทาสบรรณาลัย ดุลย์พากย์อนุสรณ์ อันดับที่ 38


http://www.dhammathai.org/store/talk/view.php?No=98
ที่มา : "ความมีนิสัยน้อมเอียงไปสู่ความสงบ"