ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 26, 2011, 06:37:47 am »


ความพอดี...พอใจ...เพียงสายกลาง
เป็นความห่าง...ระหว่าง...สิ่งทั้งสอง
นั่นไม่เอา...นี่ก็ไม่...รู้ครรลอง...
รู้ประคอง...ใจตน...แค่พอเพียง
:07:

 :13:   :12: :07: :45:

ข้อความโดย: lek
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 26, 2011, 06:13:15 am »

ความพอดี...พอใจ...เพียงสายกลาง
เป็นความห่าง...ระหว่าง...สิ่งทั้งสอง
นั่นไม่เอา...นี่ก็ไม่...รู้ครรลอง...
รู้ประคอง...ใจตน...แค่พอเพียง :07:
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 25, 2011, 08:40:26 am »




-:-  ความ พอดี  -:-

สรรพสิ่งในโลกนี้มีสองแง่
ความ ดีแท้สมบูรณ์ค่าหาไม่เห็น
เอาแต่พอดีงามตามที่เป็น
ไม่ยากเย็นเฟ้นหา ถ้าพอใจ

ดีกับเสียมีอยู่คู่กันติด
ถูกกับผิดว่างกับวุ่น ขุ่นกับใส
ที่เย็นน้อยเพราะร้อนลนจนเป็นไฟ
สองด้านในความเป็นจริงจาก สิ่งเดียว

แดดเป็นตัวเร่งให้ไม้ผลิดอก
แย้มบานออกแดดก็เผาจน เฉาเหี่ยว
ข้าวได้ฝนชูช่อรอคมเคียว
พอน้ำเชี่ยวท่วมนาน้ำตานอง

สรรพสิ่งมีทั้งให้ทั้งทำลาย
ถ้า มากมายเกินพอก็เศร้าหมอง
น้อยก็ทุกข์ทนหามาไว้ครอง
โลกจึงพร่องขาด นิยามความพอดี

แม่รักลูกอยากให้ได้ดังใจแม่
จึง เอาแต่สอนพร่ำคอยจ้ำจี้
แม่ก็ทุกข์ลูกก็ทนทุกข์ทวี
ต่างทุกข์ที่ไม่ ได้ดังใจกัน

อย่าหาแต่ข้อเสียของคนอื่น
หาความดีเขาไว้ชื่นชูใจ มั่น
ข้อเสียตนหมือนงูชูคอชัน
คอยประจัญทำร้ายทำลายตัว

ธรรมชาติล้วนเป็นเช่นนั้น เอง
ตามบทเพลงเหตุปัจจัยใช่ดีชั่ว
สัจธรรมมีสองด้านอยู่พันพัว
อย่า สุดขั้ววางใจให้พอดี


(พระอาจารย์ ชาญชัย อธิปญฺโญ)

คนทุกคนก็มีทั้งข้อดีและข้อ เสีย ไม่มีใครดีหมดหรือเสียหมด
การมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จึงจะมองอย่างเที่ยงธรรม ปราศจากอคติ
คนเรามักมองไม่เห็นตัวเองว่าเป็นคนเช่นใด
เห็นแต่คนอื่นว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ทั้งนี้เพราะเราคุ้นเคยกับการมองเห็นสิ่งนอกตัว
ไม่ฝึกมองเห็นสิ่งในตัว การเห็นความผิดตนเอง เห็นข้อบกพร่องของตนเอง
จึงจะเป็นประโยชน์ในการแก้ไข ปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น...

(อย่าพร่องดี และอย่าเกินดี แค่พอดี)

อัตตะนา โจทะยัตตานัง ยะทัตตะคะระหิ ตะทะกัพพะ มาโน
จงเตือนตนด้วยตนเอง.....ติตนเองเพราะเหตุ ใด ไม่ควรทำเหตุนั้น

ขอบคุณบทความจาก ธรรมจักรดอทเน็ต
http://www.infoforthai.com/forum/topic/892