ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 09:44:57 am »

 ขอบคุณครับพี่มด อนุโมทนาครับ :19:
ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 09:08:06 am »

คนเราถ้า ไม่ได้ฝึกสติมา  เวลาที่ เจออุปสรรค  เจอปัญหา  เจอความคับข้องใจ
    ก็มัก จะดึง "ความรู้ชุดเดิมๆ"   ความเชื่อเดิมๆ ออกมาใช้ 
  หรือ  ที่ คนจีนเรียกว่า  ซี้ปังเท้า (หัวสี่เหลี่ยม  มาจาก "ไม่พลิกแพลง")
เมื่อ ไม่พลิกแพลง  ก็คือ  ใช้ทางเลือกเดิมๆ   เช่น  ความรุนแรง
ทำคนอื่นเดือดร้อน   เรียกร้องความสนใจแบบเดิมๆ
เป็นอย่างนี้มาตั้งแต่เด็กๆ  ส่งเสียงดัง ทำลายของ
พอโตขึ้น  ก็ คิดแบบเดิมๆ  ส่งเสียงดัง ทำลาบยของ
เมื่อ สติไม่ได้ฝึก   ทางเลือกน้อย   ความสังเกตหายไป
เมื่อไม่สังเกต    ก็ใช้ แนวทางเดิม  หรือ  แผ่นเสียงตกร่อง
วังวนเดิมๆ    ไม่กล้ายอมรับ ไม่กล้าให้อภัย 

คนที่ฝึกสติ มามาก  ก็จะมี "ทางเลือก"(Choices) มากขึ้น
เพราะ เขา กล้าที่จะ คิดใหม่  เฉลียใจ  หามุมมองใหม่
เมื่อ เจอ อุปสรรค  เจอ ปัญหา เจอความคับข้องใจ
ก็ ใช้ การสนทนาร่วม (Collective conversation) ก็ได้
ใช้ ปัญญาร่วม (Collective intelligent) กับ เพื่อนๆ ที่ดี

คนสติน้อย จะไม่ฟังใคร  แพ้ไม่เป็น  ทำเสียงดัง
ทำลายข้าวของ  โวยวาย  ฯลฯ  ใช้ทางเลือกเดิม
ใช้ อุปนิสัยเดิมๆ  ตั้งแต่เป็นเด็กๆ ก็ เรียกความสนใจแบบนี้

คนอ่อนแอ คนมีปม  คนขลาด มักนิยม ชอบความรุนแรง
คนกลัวจะทำร้ายคนอื่นก่อนเสมอ

หากเราสังเกตสิ่งใด ได้ไม่สุด ไม่รอบ ไม่ครบ ไม่จบ ไม่ละเอียดพอ
เรา ก็มัก จะ "เลือกข้าง"   เกิดตัว อคติ และ ลำเอียง

ขอให้พวกเรา ฝึก สังเกต ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
ในขณะสังเกต  จงห้อยแขวน หรือ ชะลอ การตัดสิน
จงห้อยแขวน หรือ อย่าด่วน พิพากษา 
จง ดูๆๆๆๆๆๆ รู้ๆๆๆๆๆ   รู้ใจตนเอง  สงบหรือไม่สงบ

สุดสัปดาห์นี่แหละ   สอนธรรมะเราชัด
ทำจิตว่างๆ   จิตที่ว่าง ๆ จึงจะ รู้ว่า จิตไม่ว่าง
กายที่ผ่อนคลาย  จึงจะรู้ว่า กายไม่ผ่อนคลายเป็นอย่างไร

จิตว่าง  รู้ได้จาก กายที่ผ่อนคลาย
จิตไม่ว่าง  กายไม่ผ่อนคลาย และ จะผลิตความคิดไม่ปกติออกมา

ถ้า จะคิด  ก็จงติดเมื่อจิต ปกติ   
ถ้าจิตไม่ปกติ จะผลิต ความคิดแบบ มีอัตตา อคติ ลำเอียง

จง รู้ๆๆๆๆ  โดยอย่าด่วนตีความเอง
อย่าด่วนตัดสิน  อย่าด่วนเลือกข้าง

 
http://www.oknation.net/blog/woraphat/2010/03/11/entry-1