ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: เมษายน 17, 2011, 10:46:49 pm »

เซนสอนลึกซึ้ง...ยากจะเข้าใจจากการอ่านยิ่งนัก
สาธุค่ะ  :13:
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 17, 2011, 10:34:25 am »


   
 
          กระ ZEN กระสาย

หมอหนุ่ม คาสุดะ ถามเพื่อนของเขาว่า "เซนคืออะไร?"
"ฉันไม่สามารถบอกท่านได้ แต่ฉันรู้อย่างหนึ่ง
หากท่านเข้าใจเซน ท่านจะไม่กลัวตาย"

"มีอาจารย์เซนท่านใดที่สามารถสอนฉันได้"
"ทำไมท่านไม่ลองไปหาอาจารย์นันอินเล่า?"

เขาซ่อนมีดยาวเก้านิ้วครึ่งเล่มหนึ่งไปด้วย เพื่อทดสอบว่าอาจารย์กลัวตายจริงหรือไม่
ราวกับรู้ทัน เมื่ออาจารย์นันอินเห็นหมอ ก็เอ่ยดักคอว่า

"เป็นไงเพื่อน ? เราไม่ได้เจอหน้ากันนาน"
หมอเอ่ย"เราไม่เคยพบกันมาก่อน"
"จริง อาตมาเข้าใจผิดไปเองว่าท่าน
เป็นหมออีกคนหนึ่งที่กำลังเรียนอยู่ที่นี่"

หมอหมดโอกาสทดสอบอาจารย์ (หรืออาจเปลี่ยนใจไม่ทดสอบ !)
เขาถามอาจารย์ว่า เขาจะขอเรียนวิชาเซนได้หรือไม่
อาจารย์นันอินบอกหมอคาสุดะ

"เซนไม่ใช่เรื่องยากเย็นอะไร ในเมื่อเธอเป็นหมอ
ก็จงรักษาคนไข้ของเธออย่างกรุณา นั่นก็คือเซน"


คาสุดะไปหาอาจารย์สามครั้ง ทุกครั้งอาจารย์ก็บอกอย่างเดียวกัน

"เป็นหมอก็ไม่ควรเสียเวลาแถวนี้
ไปรักษาคนไข้ของเธอเถอะ"


ครั้งที่สี่ ที่เขาไปหาอาจารย์ เขาบอก
"เพื่อนฉันบอกว่า หากเข้าใจเซน จะไม่กลัวตาย
ทุกครั้งฉันมาที่นี่ อาจารย์บอกให้ฉันรักษาคนไข้ของฉัน
ฉันรู้จักเซนเพียงแค่นั้น ถ้านั่นคือสิ่งที่ท่านเรียกว่าเซน
ฉันก็ไม่ต้องมาหาอาจารย์อีก"


อาจารย์ยิ้ม ตบไหล่หมอ
"อาตมาอาจเคร่งกับเธอมากหน่อย
ให้อาตมาลองให้เธอศึกษาโกอานหน่อย"

โกอานที่ให้ศึกษาคือเรื่อง หมาของเจ้าโจว
และงานของอู๋เหมินฮุ่ยคาย
หมอศึกษาโกอานบทนี้นานสองปี
ทุกครั้งที่ไปหาอาจารย์ ท่านบอก
"เธอยังไปไม่ถูกทาง"

หมอครุ่นคิดอีกปี และอีกครึ่งปี
จิตของเขานิ่ง เขาเข้าใจปัญหา
เข้าใจความจริงของความไม่มี

เมื่อนั้นเขาก็พบความเปลี่ยนแปลงบางอย่าง
เขาดูแลคนไข้ของเขาอย่างดี และพบว่าเขาไม่แยแสกับความเกิด
ความตาย เมื่อนั้นเขาจึงเข้าใจความหมายของเซนและความตาย


ในวันสุดท้ายของชีวิต ทันซันเขียนจดหมายหกสิบฉบับส่งไปยังหลายคน
และสั่งให้เด็กส่งจดหมายเหล่านั้นไป  จดหมายเขียนว่า :

อาตมากำลังลาจากโลกนี้ไป
นี่คือคำประกาศครั้งสุดท้ายของอาตมา

ทันซัน
27 กรกฎาคม 1892


         

จากคอลัมน์ มังกรเซน
โดย วินทร์ เรียววาริณ
ขอขอบคุณ  มติชนสุดสัปดาห์ หน้า 50
ฉบับที่ 1509 วันที่ 17-23 กรกฎาคม 2552
สุขใจดอทคอม * อกาลิโกโฮม