ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: foot7864
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 27, 2012, 02:46:01 pm »

เป็นเรื่องที่ดีเลยครับ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 05, 2011, 02:34:27 pm »




สมเด็จพระญาณสังวรฯ เมื่อครั้งทรงเป็นพระราชาคณะ
ที่พระโศภณคณาภรณ์

ขอบคุณ น้องฝน (rain....)
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 09:11:43 pm »

 :13: อนุโมทนาครับน้องฝน
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 09:05:58 pm »

เอ๊ว่าจะพูดไรลือและ

เอ๊าจำได้และอนุโมนาครับ



สัญญาใจจำได้ด้วยสติ       สมาธิเสริมส่งลงตรงที่หมาย

    ฝึกกันเข้าเอาให้ถึงหนึ่งหัวใจ      รูปธรรมนามธรรมก็จำได้ด้วยสัญญา

:07:ขอบคุณงับ  คุงพ่อขา :12: :12:
ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 07:19:20 pm »

เอ๊ว่าจะพูดไรลือและ

เอ๊าจำได้และอนุโมนาครับ



สัญญาใจจำได้ด้วยสติ       สมาธิเสริมส่งลงตรงที่หมาย

    ฝึกกันเข้าเอาให้ถึงหนึ่งหัวใจ      รูปธรรมนามธรรมก็จำได้ด้วยสัญญา
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 04:43:23 pm »

สัญญา คือความจำ เป็นอนัตตา คือไม่เป็นไปตามความปรารถนาต้องการ ปรารถนาให้จำไว้ก็ไม่จำปรารถนาให้ลืมก็ไม่ลืม ปรารถนาไม่ให้จำก็จำ ปรารถนาไม่ให้ลืมก็ไม่ลืม และความจำที่เป็นสัญญาก็เป็นความจำตรงไปตรงมาทั้งสิ้ นทั้งเรื่อง ไม่ประกอบด้วยความรู้เหตุรู้ผล

ดังนั้นสัญญาจึงต้องประกอบพร้อมด้วยสติ
เพราะ สติเป็นความระลึกได้ที่ประกอบพร้อมด้วยเหตุและผล สติไม่ได้เป็นความจำแบบสัญญา ความจำ คือสัญญานั้น แม้จะตั้งใจรักษาไว้ก็อาจรักษาไว้ไม่ได้ ต้องลืม

แต่สติความระลึกได้นั้น เมื่อตั้งสติไว้ รู้เรื่องพร้อมกับรู้เหตุรู้ผล ก็จะมีสติอยู่ได้เหตุการณ์ทั้งหลายที่ประสบพบผ่านแม้ นาน เมื่อมีสติระลึกได้ ก็จะระลึกได้พร้อมทั้งเหตุทั้งผลทั้งปวงสัญญา

ความ จำกับสติความระลึกได้มีความแตกต่างกันที่สำคัญอย่างย ิ่ง ในเรื่องเดียวกันสัญญาอาจเป็นคุณ แต่ก็อาจเป็นโทษ ส่วนสติเป็นแต่คุณไม่เป็นโทษ ความพยายามมีสติระลึกรู้จึงเป็นความถูกต้องและเป็นไป ได้ยิ่งกว่าพยายามจดจำ ด้วยสัญญา.

ความจำที่เป็นสัญญานั้น มีผิดเพราะมีลืมและมีโทษ เพราะไม่ประกอบพร้อมด้วยเหตุผลความรู้ถูกรู้ผิด โทษของสัญญาคือความไม่สงบแห่งจิต

แตกต่างจากความไม่ลืมมีสติระลึกได้ ซึ่งประกอบพร้อมด้วยเหตุผลความรู้ถูกรู้ผิดอันเป็นปั ญญา ปัญญานั้นไม่มีโทษ มีแต่คุณ มีแต่นำไปสู่ความสงบแห่งทุกข์ความสงบแห่งจิตและจิตยิ ่งสงบเพียงใด ยิ่งตั้งมั่นเพียงนั้น ปัญญายิ่งสว่างรุ่งโรจน์มีพลังเพียงนั้น

: แสงส่องใจ ตุลาคม ๒๕๓๖
: สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

ขอบคุณลานธรรมจักร
 :07: :07: :07: :07:




อยู่เพื่อตนอยู่ได้แค่สิ้นลม  อยู่เพื่อสังคมแม้สิ้นลมก็ยังอยู่