ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 20, 2011, 12:08:22 pm »




คารวะมหาคุรุ “คึกฤทธิ์”
Posted by : ทองแถม-นาถจำนง

วันที่ 20 เมษายน พ.ศ 2554 วาระร้อยปีชาตกาล
พลตรี ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช “สยามรัฐ”กราบคารวะบุคคลผู้เป็น “มหาคุรุ”
ของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์สยามรัฐฉบับนี้

องค์การยูเนสโก ของสหประชาชาติประกาศให้ท่านเป็นบุคคลสำคัญของโลก
คุณูปการของท่านมากมายนัก จารึกอย่างไรก็ไม่ครบถ้วน
ในฐานะองค์กรหนังสือพิมพ์อันเป็นมรดกที่ท่าน ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช สร้างไว้
จึงขอบูชาครูด้วยคำ “ครูวิชาหนังสือพิมพ์”
ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช เตือนเรื่องการใช้เสรีภาพของสื่อมวลชนอยู่เสมอ
มีคำกลอนบทหนึ่งที่คมคายมาก ดังนี้


 ๐ อันการใช้เสรีมีจังหวะ
 ขืนใช้ดะเพรื่อนักมักสะดุด
 คนทุกคนพลาดได้ใช่ปาปมุต
 เพื่อความยุติธรรมจำระมัด

 ระวังการพูดจาอย่าปล่อยหมด
 ควรออมอดอย่าให้เด่นเห็นถนัด
 เตือนเบาเบาไม่ต้องขู่ก็รู้ชัด
 ไม่ต้องขัดใจเขม่นเป็นอมิตร์

 ทำอย่างนี้แม้ประสบได้พบพักตร์
 ก็ยังทักคบกันได้ไม่หมางจิต
 การใช้คารมแรงเที่ยวแผลงฤทธิ์
 คือใช้สิทธิเปื่อยไปไม่ดีนัก

 เมื่อมีสิทธิ์สงวนสิทธิ์คิดให้ถูก
 จำต้องปลูกฝังสิทธิ์ไม่ผิดหลัก
 ต้องรับชอบรับผิดคิดพิทักษ์
 ต้องผ่อนหนักผ่อนเบาเร้าให้คิด

 คนใจจึงสำเหนียกเรียกมนุษย์
 ไม่มีหยุดอยู่ได้การใช้จิต
 เพียงแต่แนะให้เห็นเป็นนิมิตร์
 ก็จะคิดออกได้ไม่ยากนัก

 ผมไม่กลัวหรอกเรื่องตารางคุก
 อาจจะสุขกว่าข้างนอกบอกประจักษ์
 แต่คนเราเคยเป็นมิตร์สนิทรัก
 จะโหมหักกันไม่ลงบอกตรงเอย ๐


“ความพอเหมาะพอดี” ผดุงสังคมให้สงบสุข สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
เป็นสิทธิ์พื้นฐานที่ต้องรักษาสิทธิ์นั้น และควรใช้อย่างพอเหมาะพอดี.



 : http://www.oknation.net/blog/thongtham/2011/04/20/entry-1