ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2011, 07:07:30 am »





ปัญญาปรมัตถ์

...ปัญญาในแก่นของศาสนาพุทธคือปัญญาในการละความไม่รู้ไม่เข้าใจ
และละความยึดถือในรูปนามทั้งหลายทั้งปวงได้หมดสิ้น
(ความหมายของรูปนามท่านหมายถึงทุกๆสิ่งที่จิตสามารถสัมผัสได้
ทั้งวัตถุ สสารต่างๆ ความรู้สึก ความจำ ความคิด ความเป็นตัวเรา)
ปัญญาสูงสุดในทางพระพุทธศาสนาท่านจึงเรียกว่าปรมัตถ์ปัญญา

มิใช่เป็นปัญญาที่เกิดจากการคิดไตร่ตรอง
 แต่เป็นการเกิดขึ้นด้วยกำลัง
ของสมาธิจิตที่สมบูรณ์พร้อมแล้ว
เบื่อหน่ายเต็มที่ในรูปนามทั้งหลายแล้ว เห็นแล้วว่า
อุปาทานในรูป-นามทั้งหลายทั้งปวงไม่มีตัวตนที่แท้จริงแต่อย่างใด

กำลังของสายสัมพันธ์ความยึดมั่น ในรูปนามหมดลงเพราะ
เบื่อหน่ายเต็มที่ หมดกำลังที่จะยึดมั่นถือมั่นอีกต่อไป
อุปมาเหมือนกับคนที่ทำงานมาเหนื่อยเต็มที่ พอถึงบ้านหมดแรง
อยากนอนอย่างเดียวแม้เสื้อผ้าก็ไม่ยอมถอด ทิ้งตัวลงนอนเลย
ไม่สนใจร่างกายใดๆทั้งสิ้นแล้ว
ขอนอนอย่างเดียว เพราะความเหนื่อยเพลียเต็มที่นั่นเอง

ดังนั้นปัญญาที่แท้จริงจะเกิดขึ้นได้
นักธรรมต้องพิจารณาในรูปนาม
ให้เห็นว่าเป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่น่ายึดถือไม่มีตัวตนที่แท้จริง
เมื่อพิจารณาบ่อยๆมากๆจนจิตเหนื่อยเบื่อในงานเต็มที่แล้ว
จิตจะปล่อยวางได้เองโดยที่ไม่ต้องอยากให้มันปล่อยวางแต่อย่างใด

... นักธรรมท่านใดที่เอาแต่ความสงบของสมาธิจิต เอาแต่อารมณ์สุข
ของสมาธิย่อมหาความเหนื่อย ความเบื่อและความปล่อยวางแบบปรมัตถ์ต่อ
รูปนามไม่ได้
อุปมาเหมือนกับพนักงานมาทำงานแต่ไม่ยอมทำงานจริง
 มานั่งมองโน่นมองนี่สุขสบายไปวันๆ ใครๆถามก็บอกกล่าวว่าตนเองเบื่อแล้ว
เหนื่อยแล้วแต่ในความเป็นจริงความเหนื่อยความเบื่อในงาน(รูปนาม)
ยังไม่ได้เกิดกับจิตตนเองเลย
เพราะตนเองยังไม่ได้ทำงานจะเอาความเหนื่อยความเบื่อมาจากไหน

ท่านจึงสอนให้นักธรรมพิจารณาความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ของรูปและนามให้มาก เหนื่อย-พัก,เหนื่อย-พัก
(สมาธิ-พิจารณา,สมาธิ-พิจารณา)ทำอยู่แบบนี้เมื่อจิตปุถุชนเบื่อเต็มที่
หมดกำลังที่จะยึดในรูปนามแล้วมันจะทิ้งในรูปนามเอง เห็นเองว่า
รูปนามที่แท้จริงโดยปรมัตถ์มันเป็นอย่างไร อนัตตาของจริงมันเป็นอย่างไร.



รวมหลายเรื่องจากเว็บไซต์ อกาลิโก
นิทานเซน
คุณแสงดาว แปลมา น่าอ่าน ดี
http://www.whatami2.ob.tc/zen/zen23.html
Pics by : Google
อกาลิโกโฮม * ใต้ร่มธรรมดอทเน็ต
สุขใจดอทคอม
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ