ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 23, 2011, 04:13:32 pm »


           

ปล่อยวางแบบควาย : ศาลาธรรม

ลูกศิษย์วัยรุ่นมักจะอ้างเรื่องการปล่อยวาง เมื่อขี้เกียจไม่อยากจะทำอะไรสักอย่าง
ท่านอาจารย์จึงเล่าว่า

ในช่วงเข้าพรรษาปีหนึ่ง หลวงพ่อชาเดินตรวจพระลูกศิษย์ที่กุฏิหลังหนึ่ง
พระท่านเอาของไปวางไว้ตรงมุมที่ไม่ใช่ที่ๆ ควรจะวาง

ท่านจึงถามว่า "ทำไมจึงต้องเอาของไปไว้ตรงนั้น"
ลูกศิษย์ให้เหตุผลว่า "เพราะหลังคามันรั่ว"
เมื่อหลวงพ่อถามว่า "ทำไมจึงไม่ซ่อมหลังคา"
ท่านก็ว่า "ท่านกำลังฝึกเรื่องความอดทนและการปล่อยวาง"

หลวงพ่อจึงว่า
นี่คือการปล่อยวางของควาย

ท่านอาจารย์สรุปว่า
พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนว่า อะไรๆก็ต้องปล่อยวาง อะไรๆก็ต้องอดทน เราต้องมีปัญญาแยกแยะว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งไหนควรอดทนก็ต้องอดทน บางสิ่งบางอย่างก็ไม่ใช่เรื่องที่ต้องทน บางสิ่งบางอย่างก็ควรจะแก้ไข การปล่อยวางของเราต้องมีปัญญา เป็นตัวกำกับอยู่ด้วยเสมอ....

"เรื่องท่านเล่า" เรียบเรียงจากนิทาน และธรรมบรรยาย
ที่พระอาจารย์ชยสาโรเคยแสดงไว้เพื่อเป็นธรรมทาน โดย ศรีวรา อิสสระ..
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 22, 2011, 01:11:43 pm »

 
คำสอนหลวงพ่อชา(เธอจงระวัง)








Posted by : ปรัชญาชนบท