ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 19, 2012, 09:10:56 pm »





จิตเดิมแท้ (essence of mind)

                                   

จากหลักฐานในพระสูตรพระไตรปิฏกอธิบายว่า
จิตเดิมแท้ ได้แก่ ปฐมวิญญาณ หรือ ปุริมวิญญาณ

คำว่า"จิต"มาจากรากศัพท์ภาษาบาลีว่า"จิตตัง"(หมายถึงจิตเดิมแท้)
ในพระพุทธบัญญัติได้ทรงบัญญัติคำนี้เพื่อใช้ในความหมายเฉพาะ

เพื่อให้มีความหมายเดียวตายตัว และให้แตกต่างออกไป
จากคำว่า"วิญญาณ"

คำว่า"วิญญาณ"ในภาษาบาลีมีความหมาย 2 อย่างคือ
1. ปฐมวิญญาณ หรือ ปุริมวิญญาณ(หมายถึงจิตเดิมแท้)
เป็นธาตุแท้ในกลุ่มธาตุแท้(อสังขตธาตุ)ทั้ง 6 ธาตุ คือ

ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ และวิญญาณ ซึ่งเป็นสิ่งธรรมชาติ ไม่มีปัจจัยสร้างขึ้น
ไม่มีการเริ่มต้น ฉนั้นจึงไม่สูญสลาย
สิ่งใดไม่มีการเริ่มต้น สิ่งนั้นย่อมไม่มีการสิ้นสุด คงอยู่ตลอดไป(อนันตัง)

2. วิถีวิญญาณ หมายถึงวิญญาณทางทวารทั้ง 6 สำหรับรับรู้อารมณ์เป็นสื่อสัมผัส
สิ่งนี้มีลักษณะของการเกิดและการดับ เหมือนสังขารทั้งหลาย



จาก.. วิถีแห่งการดำเนินชีวิต
:http://is-is.facebook.com/notes/withi-haeng-kar-danein-chiwit/cit-deim-thaeessence-of-mind-khux-xari/183215211719527