ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: เมษายน 27, 2012, 10:52:43 pm »



 สำหรับบุคคลทั่วไป ที่ยังเรียกตัวเองว่าเป็น "คน"นั้น ย่อมเป็นผู้ที่ยังมีความวุ่นวายในใจอยู่นั่นเอง ดังนั้นไม่ว่าจะทำอะไรก็จะก่อให้เกิดปัญหา และเกิดความวุ่นวายอยู่ร่ำไป
 
 เรามักจะเคยได้ยิน พุทธดำรัสที่ว่า " ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์" เพราะเหตุใดจึงตรัสเช่นนั้น ก็เนื่องจากว่า การที่เรามีความรัก อะไรก็ดูสวยงามไปหมด ณ เวลานั้น ความสุขย่อมก่อเกิดแก่เรา แต่ในวันที่เราผิดหวัง หรือความรักเริ่มจืดจางลงไป ความทุกข์ก็เริ่มคืบคลานเข้ามาแทนที่ความสุขดัง นั้นเราจึงต้องมาเรียนรู้ว่า การมีความรักอย่างไร จึงจะก่อให้เกิดความสุขแก่เราได้ แล้วทุกท่านคิดว่า มีวิธีใดบ้างที่สามารถทำให้เรามีความรักอย่างยั่งยืนได้บ้าง นอกจากการหันมาพึ่งทางธรรม แต่หลายคนมักคิดว่า " ธรรมะ " เป็นเรื่องของคนแก่ หรือผู้สูงอายุที่ต้องเข้ามาเรียนรู้ หรือใส่ใจ ถ้าวัยรุ่น คนหนุ่มสาวคนใด หลงเข้ามาสนใจในธรรม มักจะถูกมองว่าเป็นคนคร่ำครึ ล้าหลัง หรือเป็นคนไม่ทันสมัย หัวโบราณบ้าง แต่ที่จริงแล้ว " ธรรมะให้อะไรกับเรามากมาย " และไม่ว่าจะเป็นเด็ก คนหนุ่มสาวหรือผู้สูงอายุ ทุกชนชั้น ย่อมสามารถได้รับความสุขจากการเข้ามาเรียนรู้หรือปฏิบัติธรรม (ซึ้งในรสพระธรรม) ได้เช่นเดียวกัน เดี๋ยวจะมาเขียนต่อนะค่ะ ตอนนี้หิวข้าวแล้วค่ะ
 
มา ต่อกันเลยนะค่ะ ทำไมถึงบอกว่าการมีธรรมะแล้วทำให้ความรักยั่งยืน ก็เพราะคนที่ศึกษาทางธรรมย่อมรู้ว่า ใครก็ตามที่มีธรรมะในหัวใจ เขาคนนั้นย่อมเป็นคนดี แค่เพียงผู้ที่ศึกษาเท่านั้น แต่ถ้าพูดถึงผู้ปฎิบัติทางธรรมด้วยแล้ว บุคคลเหล่านั้นย่อมได้ยกระดับจิตใจของตัวเองให้สูงขึ้น สูงค่ามากกว่าคำว่า "คนดี"เสียอีก เรามาดูกันว่า ในพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ท่านสอนอะไรกับคนที่รักกัน และต้องใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันอย่างไรบ้าง
 เรื่องแรกคือพรหมวิหารธรรม 4 ข้อ คือ
 1.เมตตา คือ ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข
 2.กรุณา คือ ความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
 3.มุทิตา คือ ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี
 4.อุเบกขา คือ การรู้จักวางเฉย
 
 พรหมวิหาร ธรรมทั้ง 4 ข้อนี้ เป็นคุณธรรมพื้นฐาน ที่จะทำให้คนที่รักกันครองคู่กันอย่างยั่งยืน และพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงหน้าที่ของสามีภรรยาไว้ดังนี้
 สามีต้องปฏิบัติบำรุงภรรยา ดังนี้
 
 ๑) ยกย่องให้เกียรติในฐานะภรรยา
 
 ๒) ไม่ดูหมิ่น
 
 ๓) ไม่นอกใจ
 
 ๔) มอบความเป็นใหญ่ในงานบ้าน
 
 ๕) ให้เครื่องประดับเป็นของขวัญตามโอกาสอันควร
 
 ภรรยาต้องปฏิบัติบำรุงสามี ดังนี้
 
 ๑) จัดการงานบ้านให้เรียบร้อย
 
 ๒) สงเคราะห์ญาติมิตรทั้งสองฝ่ายด้วยดี
 
 ๓) ไม่นอกใจ
 
 ๔) รักษาทรัพย์สมบัติที่หามาได้
 
 ๕) ขยันไม่เกียจคร้านในงานทั้งปวง

 
 หากคน ที่รักกัน หรือสามีภรรยา ที่ครองรัก ครองเรือนร่วมกัน ปฎิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ถือว่าเป็นคนที่มีธรรมะในหัวใจแล้ว ดังนั้นเมื่อเรามีธรรมะแล้ว ความรักก็จะยืนยาว โดยการให้เกียรติ ซึ่งกันและกันนั่นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้การมีธรรมะในหัวใจจึงทำให้ความรักยั่งยืนด้วยประการฉะนี้แล
 นอก การมีธรรมะทำให้เรามีความรักที่ยั่งยืนแล้ว การมีธรรมะยังทำให้เราประสบความสำเร็จในด้านอื่นๆอีกด้วย เช่นการใช้ชีวิตประจำวัน หรือแม้แต่การงาน
 สำหรับบุคคลทั่วไป ที่ยังเรียกตัวเองว่าเป็น "คน"นั้น ย่อมเป็นผู้ที่ยังมีความวุ่นวายในใจอยู่นั่นเอง ดังนั้นไม่ว่าจะทำอะไรก็จะก่อให้เกิดปัญหา และเกิดความวุ่นวายอยู่ร่ำไป
 
 เรามักจะเคยได้ยิน พุทธดำรัสที่ว่า " ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์" เพราะเหตุใดจึงตรัสเช่นนั้น ก็เนื่องจากว่า การที่เรามีความรัก อะไรก็ดูสวยงามไปหมด ณ เวลานั้น ความสุขย่อมก่อเกิดแก่เรา แต่ในวันที่เราผิดหวัง หรือความรักเริ่มจืดจางลงไป ความทุกข์ก็เริ่มคืบคลานเข้ามาแทนที่ความสุขดัง นั้นเราจึงต้องมาเรียนรู้ว่า การมีความรักอย่างไร จึงจะก่อให้เกิดความสุขแก่เราได้ แล้วทุกท่านคิดว่า มีวิธีใดบ้างที่สามารถทำให้เรามีความรักอย่างยั่งยืนได้บ้าง นอกจากการหันมาพึ่งทางธรรม แต่หลายคนมักคิดว่า " ธรรมะ " เป็นเรื่องของคนแก่ หรือผู้สูงอายุที่ต้องเข้ามาเรียนรู้ หรือใส่ใจ ถ้าวัยรุ่น คนหนุ่มสาวคนใด หลงเข้ามาสนใจในธรรม มักจะถูกมองว่าเป็นคนคร่ำครึ ล้าหลัง หรือเป็นคนไม่ทันสมัย หัวโบราณบ้าง แต่ที่จริงแล้ว " ธรรมะให้อะไรกับเรามากมาย " และไม่ว่าจะเป็นเด็ก คนหนุ่มสาวหรือผู้สูงอายุ ทุกชนชั้น ย่อมสามารถได้รับความสุขจากการเข้ามาเรียนรู้หรือปฏิบัติธรรม (ซึ้งในรสพระธรรม) ได้เช่นเดียวกัน เดี๋ยวจะมาเขียนต่อนะค่ะ ตอนนี้หิวข้าวแล้วค่ะ
 
มา ต่อกันเลยนะค่ะ ทำไมถึงบอกว่าการมีธรรมะแล้วทำให้ความรักยั่งยืน ก็เพราะคนที่ศึกษาทางธรรมย่อมรู้ว่า ใครก็ตามที่มีธรรมะในหัวใจ เขาคนนั้นย่อมเป็นคนดี แค่เพียงผู้ที่ศึกษาเท่านั้น แต่ถ้าพูดถึงผู้ปฎิบัติทางธรรมด้วยแล้ว บุคคลเหล่านั้นย่อมได้ยกระดับจิตใจของตัวเองให้สูงขึ้น สูงค่ามากกว่าคำว่า "คนดี"เสียอีก เรามาดูกันว่า ในพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ท่านสอนอะไรกับคนที่รักกัน และต้องใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันอย่างไรบ้าง
 เรื่องแรกคือพรหมวิหารธรรม 4 ข้อ คือ
 1.เมตตา คือ ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข
 2.กรุณา คือ ความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
 3.มุทิตา คือ ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี
 4.อุเบกขา คือ การรู้จักวางเฉย
 
 พรหมวิหาร ธรรมทั้ง 4 ข้อนี้ เป็นคุณธรรมพื้นฐาน ที่จะทำให้คนที่รักกันครองคู่กันอย่างยั่งยืน และพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงหน้าที่ของสามีภรรยาไว้ดังนี้
 สามีต้องปฏิบัติบำรุงภรรยา ดังนี้
 
 ๑) ยกย่องให้เกียรติในฐานะภรรยา
 
 ๒) ไม่ดูหมิ่น
 
 ๓) ไม่นอกใจ
 
 ๔) มอบความเป็นใหญ่ในงานบ้าน
 
 ๕) ให้เครื่องประดับเป็นของขวัญตามโอกาสอันควร
 
 ภรรยาต้องปฏิบัติบำรุงสามี ดังนี้
 
 ๑) จัดการงานบ้านให้เรียบร้อย
 
 ๒) สงเคราะห์ญาติมิตรทั้งสองฝ่ายด้วยดี
 
 ๓) ไม่นอกใจ
 
 ๔) รักษาทรัพย์สมบัติที่หามาได้
 
 ๕) ขยันไม่เกียจคร้านในงานทั้งปวง

 
 หากคน ที่รักกัน หรือสามีภรรยา ที่ครองรัก ครองเรือนร่วมกัน ปฎิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ถือว่าเป็นคนที่มีธรรมะในหัวใจแล้ว ดังนั้นเมื่อเรามีธรรมะแล้ว ความรักก็จะยืนยาว โดยการให้เกียรติ ซึ่งกันและกันนั่นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้การมีธรรมะในหัวใจจึงทำให้ความรักยั่งยืนด้วยประการฉะนี้แล
 นอก การมีธรรมะทำให้เรามีความรักที่ยั่งยืนแล้ว การมีธรรมะยังทำให้เราประสบความสำเร็จในด้านอื่นๆอีกด้วย เช่นการใช้ชีวิตประจำวัน หรือแม้แต่การงาน


ที่มา
http://jobbydee.blogspot.com/2011/05/blog-post.html

http://board.palungjit.com/f9/%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81-137571.html

:06: คัดลอกมาก็ได้นี่ครับ ค่อยๆฝึกเดี๋ยวก็เก่งครับ
ทุกๆที่มีปัญหาหมดครับ ขึ้นอยู่กับเราว่าจะมองปัญหาอย่างไร
ข้อความโดย: kmou17
« เมื่อ: เมษายน 27, 2012, 08:30:46 pm »

 :19:
สำหรับบุคคลทั่วไป ที่ยังเรียกตัวเองว่าเป็น "คน"นั้น ย่อมเป็นผู้ที่ยังมีความวุ่นวายในใจอยู่นั่นเอง ดังนั้นไม่ว่าจะทำอะไรก็จะก่อให้เกิดปัญหา และเกิดความวุ่นวายอยู่ร่ำไป
หากท่านใดสนใจ อยากอ่านเพิ่มเติม http://jobbydee.blogspot.com/2011/05/blog-post.html ]<<<<<คลิ๊กที่นี่>>>>>>[/url]