ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤษภาคม 22, 2012, 02:24:34 pm »





คำถาม : การสวดมนต์ บทไหนที่ดีที่สุด?

หลวงพ่อพุธตอบ : สวดมนต์นี่ดีทุกบท
อย่าไปเชื่อว่าบทนั้นดี บทนี้ไม่ดี
มนต์ต่างๆ นั่นมันเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
เป็นการเล่านิยายเรื่องพระพุทธเจ้าที่ท่านทำงานของท่าน
มาเป็นบันทึกผลงานของพระพุทธเจ้า
 
เช่นอย่าง มงคลสูตร ปรารภอะไรและทรงแสดงธรรมว่าอย่างไร
กรณียเมตตสูตร ปรารภอะไร แสดงธรรมว่าอย่างไร
มันเป็นบทบันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้า เช่นอย่าง
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ก็เป็นบันทึกที่พระองค์ทรงแสดง
ธรรมเทศนา เป็นกัณฑ์แรก โปรดใคร

ที่เขาไปกำหนดหมายว่า สวดนั้นถึงจะดี สวดนี้ถึงจะดี
อันนั้นเขาสอนกันมีแนวโน้มไปในทางไสยศาตร์
พวกไสยศาตร์นี่อย่าไปสนใจ
ขืนเรียนไสยาศาตร์ไป กลายเป็นผีใหญ่หมด

สวดมนต์ที่พระพุทธเจ้าเทศน์เอาไว้
เป็นการทรงจำคำสอน
สวดมนต์ หลักก็คือ สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ

เป็นการไหว้ครู คือ ไหว้พระพุทธเจ้า คุณธรรมของพระพุทธเจ้า
สาวกของพระพุทธเจ้าผู้นำศาสนามา การสวดมนต์นี่
เช่นเรา สมมติว่า สวด “อิติปิโส ภะคะวาอะระหัง สัมมาสัมพุทโธ”
ทำสติให้มันรู้ชัดๆ มันก็เป็นภาวนาไปในตัว

อะไรก็ตามที่เรารู้ เช่น ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ
เป็นสื่อสัมพันธ์กับโลกภายนอก ตาเห็นรูปมีสติ
ถ้ามันเกิดรักเกิดชอบ พิจารณา..
ถ้ามันเกลียด.. พิจารณา.. ให้มีสติรู้อยู่ตลอดเวลา

อย่าไปสนใจเรื่องของคนอื่น เรามั่นคงใน พระธรรม พระวินัย
ในข้อวัตรปฏิบัติของเรา รักษาศีลวินัยให้ดี
เอาใจใส่การปฏิบัติให้ดี เราไปอยู่ในสำนักไหน
พักในสำนักไหน กิจวัตรของวัดนั้นเขามีอะไร
ให้อนุโลมปฏิบัติตามเขา ถ้าเราไม่ชอบอย่าไปขวางเขา

ถ้าไม่ชอบระเบียบวิธีการของวัดนี้ เราก็ไม่ต้องอยู่
ก็ต้องไปแสวงหาที่อื่น อย่าเอามติของเราไปขัดเขา
ถ้าเรายังไม่พ้นนิสัยมุตก์หรือพ้นแล้ว
ถ้าหากเราจะไปศึกษาปฏิบัติในสำนักไหน

แม้ว่าเราอายุพรรษาพ้น ๕ แล้วต้องรู้จัก
พระธรรมวินัย อุบายวิธีแก้ไข ปัญหาตัวเอง

ถ้าหากว่ายังไม่เข้าใจสิ่งเหล่านี้ ๑๐๐ พรรษาก็ยังไม่พ้น
ทีนี้เรายังแสวงหาครูบาอาจารย์เพื่อการปฏิบัติอยู่
ก็แสดงว่าเรายังไม่พ้นนิสัยมุตก์
เพราะเรายังไม่เข้าใจหลักการปฏิบัติ"



ที่มา :http://www.thaniyo.com/index.php/news-and-event/---2 — กับ ญาณธีโร ภิกขุ