ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: สิงหาคม 13, 2012, 12:44:10 am »



เมื่อสี่ห้าปีก่อน ผมมีโอกาสแวะไปโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น และได้พบโชโกะกับนาโอโกะ เพื่อนสนิทสมัยเรียนที่นาโรปะ โชโกะพาผมไปเดินดูวัดในชุมชน ผมตื่นเต้นมาก คือจะมีรูปเคารพบางส่วนในวัดเซนและวัดมหายาน แสดงถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาวัชรยานอย่างเด่นชัด แต่ก็ไม่มีองค์ไหนที่งดงามเท่า Aizen-Myoo ที่ผมไปเห็นตอนเข้าชมพิพิธภัณฑ์พุทธศิลป์ทิเบตที่บอสตัน

ในภาพนี้ คือ Aizen-Myoo หรือ "ราคะราชา" (Lustful Wisdom King) เทพยิดัมองค์หนึ่งของพุทธศาสนามหายานในประเทศญี่ปุ่น (วัชรยานก็คือพัฒนาการขั้นปลายของมหายานนั่นเอง) Aizen-Myoo แสดงศักยภาพของความตื่นที่สามารถแปรเปลี่ยนพลังราคะเป็นพุทธปัญญา

เห็นรูปเคารพอะไรแบบนี้ บางคนอาจสงสัยว่าวัชรยานหรือตันตระ บิดเบือนคำสอนพุทธศาสนาหรือยังไง ... คำตอบของผมคือ ไม่เลย

หากเราปรารถนาจะเข้าใจพุทธศาสนาสายอื่นในคุณค่าและความหมายของผู้ฝึกในสายนั้นๆ เราต้องฝึกทำความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ที่มีเส้นทางการเรียนรู้และ passion ของการเรียนรู้ที่ต่างกัน

เส้นทางของสาวกยาน เน้นไปที่ ผัสสะ (ความรู้ตัว)
เส้นทางของมหายาน เน้นไปที่ เวทนา (การเปิดใจ/ความรู้สึก/การร่วมทุกข์ร่วมสุข)
ส่วน เส้นทางของวัชรยาน เน้นไปที่ ตัณหา (อารมณ์)

ซึ่งแม้มีเป้าหมายร่วมกันคือการหลุดพ้นจากการยึดมั่นในตัวตน ทว่าแตกต่างกันตรงศักยภาพและความละเอียดละออในการทำความเข้าใจโลกย์ตามที่เป็น ซึ่งนั่นดูจะเป็นความแตกต่างของวิถีโพธิสัตว์ อันมีความท้าทายสูงสุดคือการรู้แจ้งในธรรมชาติของอารมณ์และตัณหาของมนุษย์นั่นเอง


วิจักขณ์ / 12 ส.ค. 55

 :25: https://www.facebook.com/tilopahouse