ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: กันยายน 26, 2012, 09:59:57 pm »



 :14: :45: :13:

ผมว่า  ผมต้องระวังเรื่องยาแล้วครับ

ตามหัวข้อกระทู้นี้ครับพี่

 :14:
.
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 25, 2012, 09:36:26 pm »



 :14: :45: :13:

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: กันยายน 25, 2012, 09:02:57 pm »

2 กลุ่มยาที่ผู้สูงอายุต้องระวัง!
-http://www.dailynews.co.th/article/822/157094-



บางคนยิ่งชรา ยิ่งมียาที่ต้องกินเยอะ เนื่องด้วยความเสื่อมของสภาพร่างกายทำให้เจ็บป่วยหลายโรค เรื่องนี้ แพทย์หญิง ลิลลี่ ชัยสมพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กล่าวไว้ในเบตเตอร์ เฮลท์ นิตยสารประจำโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ว่า ผู้สูงอายุบางรายมักได้รับยามาจากหลายแห่ง ยกตัวอย่างเช่น จากแพทย์หลายท่านที่รักษาโรคต่างกัน จากคนในครอบครัวที่นำมาให้เพราะความเป็นห่วง รวมทั้งจากความต้องการของผู้สูงอายุเอง จึงทำให้ผู้สูงอายุรายนั้นอาจต้องกินทั้งยารักษาโรค วิตามิน อาหารเสริม ยาไทย ยาจีน

กรณีดังกล่าวนำมาซึ่งข้อสงสัยของผู้สูงอายุ คือ ยาเหล่านั้นกินด้วยกันได้หรือไม่? พญ.ลิลลี่ จึงแนะว่า โดยหลักการแล้ว ควรกินยาให้น้อยที่สุด หรือกินเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ทั้งนี้ผู้สูงอายุควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร เพื่อให้พิจารณาว่ายาชนิดใดจำเป็นบ้าง และแต่ละชนิดสามารถใช้ร่วมกันได้หรือไม่ ที่สำคัญทุกครั้งที่ไปพบแพทย์ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบว่า ปัจจุบันกำลังใช้ยาอะไรอยู่บ้าง เพื่อป้องกันการใช้ยาซ้ำซ้อน

อย่างไรก็ตาม พญ.ลิลลี่ เตือนว่า มียา 2 กลุ่ม ที่ผู้สูงอายุควรระวัง นั่นคือ ยาแก้อักเสบจำพวก NSADs แอสไพริน หรือไอบูโพรเฟน เนื่องจากมีผลข้างเคียงรุนแรง ทั้งกัดกระเพาะและทำให้ความดันโลหิตสูง มีผลต่อตับและไต ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนานๆ ทว่าหากต้องใช้ก็ควรอยู่ในการกำกับของแพทย์

อีกกลุ่มที่ต้องระวัง คือ จำพวกยาแก้หวัด แก้แพ้ และยานอนหลับบางชนิด เพราะมีผลต่อสมอง หากได้รับยามากเกินไปจะทำให้เกิดอาการมึนงง หรือง่วงจนหกล้มบาดเจ็บได้ โดยเฉพาะพวกยานอนหลับชนิดออกฤทธิ์รุนแรงอย่าง ไดอาซีแพม ถ้าใช้ติดต่อกันนานๆ อาจทำให้สมองฝ่อ หรือซึมเศร้าได้

พญ.ลิลลี่ ฝากไว้ว่า โรคส่วนใหญ่ที่เกิดในผู้สูงอายุ ยากที่แพทย์จะรักษาได้เต็มประสิทธิภาพ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยในการดูแลตนเองตามคำแนะนำของแพทย์ เช่น อาหารที่ควรกินและควรเลี่ยง ตลอดจนการออกกำลังกาย และสุขภาพจิตที่ดี เพราะปัจจัยเหล่านี้จะช่วยในการรักษาโรคได้ดีขึ้น.

ทีมเดลินิวส์ออนไลน์
takecareDD@gmail.com

.