ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มกราคม 14, 2013, 08:43:16 pm »





ลำดับการปฏิบัติ เพื่อรู้ตามซึ่งสัจจธรรม

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราย่อมไม่กล่าว การประสบความ
พอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว.

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ก็แต่ว่า การประสบความพอใจในอรหัตตผล
ย่อมมีได้เพราะ การศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ก็การประสบ ความพอใจในอรหัตตผล
ย่อมมีได้เพราะ การศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ :
เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อม เข้าไปหาผู้ถึงอริยสัจ(สัปบุรุษ);
เมื่อเข้าไปหา ย่อม เข้าไปนั่งใกล้;
เมื่อเข้าไปนั่งใกล้ ย่อม เงี่ยโสตลงสดับ;
ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อม ได้ฟังธรรม;
ครั้นฟังแล้ว ย่อม ทรงจำธรรมไว้,

ย่อม ใคร่ครวญ พิจารณาซึ่งเนื้อความ
แห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้;
เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่,
ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์;

เมื่อธรรมทนต่อ การเพ่งพิสูจน์มีอยู่
ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด;
ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อม มีอุตสาหะ;
ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อม พิจารณาหาความสมดุลแห่งธรรม
ครั้นพิจารณาหา ความสมดุล แห่งธรรมแล้ว
ย่อม ตั้งตน ไว้ในธรรม นั้น;

ผู้มีตนส่ง ไปแล้ว ในธรรมนั้นอยู่
ย่อม กระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ ด้วยนามกาย ด้วย,
ย่อม เห็นแจ้งแทงตลอด ซึ่งบรมสัจจ์ นั้นด้วยปัญญา ด้วย.
ม. ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๘.

                   

-http://www.facebook.com/pages/พระพุทธเจ้า/