ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 13, 2013, 10:15:40 pm »





ลักษณะ หนทาง แห่ง ความหมดจด
ทางมี องค์แปด เป็นทางอัน ประเสริฐกว่า ทางทั้งหลาย.
บทแห่ง อริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบท ทั้งหลาย.
วิราคธรรม ประเสริฐ กว่า ธรรมทั้งหลาย.
ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่า สัตว์สองเท้าทั้งหลาย.
นี่แหละทางเพื่อ ความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี.
เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร;
เธอทั้งหลาย เดินตาม ทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.

ทาง เราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย
เพื่อการ รู้จักการ ถอนซึ่งลูกศร;
ความเพียรเป็นกิจ อันเธอ ทั้งหลายพึงกระทำ
ตถาคต ทั้งหลาย เป็นเพียงผู้บอก
ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจาก เครื่องผูกแห่งมาร.


เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า
สังขาร ทั้งหลาย ทั้งปวงไม่เที่ยง”;
เมื่อนั้น เขาย่อม เบื่อหน่ายใน สิ่งที่เป็นทุกข์ :
นั่นแหละเป็น ทางแห่ง ความหมดจด.
เมื่อใด บุคคล เห็นด้วย ปัญญาว่า
“สังขาร ทั้งหลาย ทั้งปวงเป็นทุกข์”;
เมื่อนั้น เขาย่อม เบื่อหน่ายใน สิ่งที่เป็นทุกข์ :
นั่นแหละเป็น ทางแห่ง ความหมดจด.
เมื่อใด บุคคล เห็นด้วย ปัญญาว่า
“ธรรมทั้งหลาย ทั้งปวง เป็นอนัตตา”;
เมื่อนั้น เขาย่อม เบื่อหน่าย ในสิ่งที่เป็นทุกข์ :
นั่นแหละ เป็นทางแห่ง ความหมดจด.
ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐.
-http://www.facebook.com/pages/พระพุทธเจ้า/166387296709841