ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: สิงหาคม 07, 2010, 02:59:57 am »

ไม่ค่อยใช้ครับโชคดีแล้วเรา
ใช้สบู่ก้อนแบบดั้งเดิม ถูมันกว่าครับ
ขอบคุณที่นำมาบอกต่อกันครับพี่คนชล  :29:
ข้อความโดย: Plusz
« เมื่อ: สิงหาคม 06, 2010, 08:46:26 pm »

น่ากลัวจังเลยค่ะ จะเลิกใช้แล้ว T^T
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 06, 2010, 07:42:50 pm »

อนุโมทนาครับผม เป็นประโยชน์อย่างมากครับ ขอบคุณครับ :45:
ข้อความโดย: คนชล
« เมื่อ: สิงหาคม 06, 2010, 07:04:54 pm »

                   

ถ้าคุณชอบอาบน้ำด้วยสบู่เหลวละก้อ
ควรอ่านบทความนี้...

เดี๋ยวนี้สบู่เหลวได้รับ ความนิยมยิ่งขึ้น
ด้วยเหตุผลของความสะดวกสบาย เป็นสำคัญ
แต่คุณรู้ไหมว่า สบู่เหลวที่เราใช้กันอยู่นั้นไม่ใช่สบู่
แต่เป็นสารเคมีล้วนๆ สบู่เหลวที่ดีจริงๆจะต้องมีส่วนผสมของเนื้อสบู่อย่างน้อย 25%
แล้วที่เหลือเป็นน้ำ แต่ความเป็นจริงแล้วไม่มีสบู่เหลวแบบนี้วางขายอยู่เลย
เพราะผลิตภัณฑ์เกือบทุกชนิดที่วางขายอยู่นั้น เป็นแค่ใช้สารซักฟอกหรือดีเทอเจน
ผสมกับสารเคมีสังเคราะห์ อื่นๆ แล้วทำให้อยู่ในรูปของเหลว
ซึ่งสารซักฟอก หรือดีเทอเจนก็คือสารเคมีหลัก ที่ใช้ในการผลิตแชมพู น้ำยาล้างจาน
น้ำยาทำความสะอาดพื้น หรือแม้แต่น้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำนั่นเอง
จะผิดกันก็แต่ว่าความเข้มข้นของสารซักฟอก ที่ใช้ทำสบู่เหลวมีความเจือจางกว่าเท่านั้น
ผล กระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้สบู่เหลว คงไม่เกิดขึ้นในฉับพลันทันที
แต่จะสะสมเป็นปัญหาในระยะยาวได้ เพราะสารเคมีเหล่านี้จะแทรกซึมลงไปในผิวหนัง
อวัยวะ ภายใน และกระแสเลือดได้ทุกครั้งที่เราอาบน้ำ SLS หรือ โซเดียมลอริลซัลเฟต
เป็นตัวอย่างหนึ่งของสารเคมีหลักที่มักใช้ในสบู่ คุณลองไปพลิกพวกผลิตภัณฑ์ซักล้างทุกอย่างดู
จะเห็นส่วน ผสมนี้จริงๆ บางทีใช้ชื่อว่าลอริล) และเป็นสารเคมีอันตราย หลายประเทศในยุโรปและ
อเมริกามีกฏหมายห้ามใช้ แล้ว และบางประเทศก็จำกัด ให้มีการใช้น้อยลง แต่ในบ้านเรากลับใช้กัน
อย่างแพร่หลาย ทั้งๆที่ SLS เป็นสารเคมีที่ดูดซึมผ่านผิวหนังได้ ง่ายและรวดเร็ว
สามารถสะสมอยู่ในดวงตา สมอง หัวใจ ตับ และก่อปัญหาในระยะยาว
หากยิ่งมีการใช้ร่วมกับ สารประกอบตระกูลอามีน ก็จะกลายเป็นสารก่อมะเร็งในที่สุด
เพราะฉะนั้น เราอาจต้องถามตัวเองดูใหม่ ว่ามีความจำเป็นแค่ไหนที่จะต้องใช้สบู่เหลว
ซึ่งจริงๆแล้วคือสารเคมีล้วนๆ แต่ถ้ายังคงต้องการที่จะใช้ การใช้สบู่เหลวสำหรับเด็กก็
จะดีกว่า ไม่ได้หมายความว่าปลอดภัย เพียงแต่มีสารเคมีเจือ จางกว่าเท่านั้น)
แต่ถ้าจะให้ดี การกลับไปใช้สบู่ก้อนจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด
[/color]
ข้อมูลจากวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ
กิตสุนี รุจิชานันทกุล
มูลนิธิ โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 413/38
ถ.อรุณ อัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-424-5768