ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 23, 2013, 08:10:27 pm »




ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้
เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล
มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย.
๓ อย่างเหล่าไหนเล่า ? ๓ อย่างคือ :-
สุขเวทนา, ทุกขเวทนา, อทุกขมสุขเวทนา.

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะ อาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา
สุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น;
เพราะ ความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น
สุขเวทนาอันเกิดขึ้นเป็นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่ง
สุขเวทนานั้น ย่อมดับไป ย่อมระงับไป.
(ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้
ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน
).

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอัน
สีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ, เมื่อไม้สีไฟสองอัน
แยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ฉันใดก็ฉันนั้น :
เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ
มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น, ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ,
ดังนี้แล.
สฬา. สํ. ๑๘/๒๖๖/๓๘๙-๓๙๐.


                    >>> F/B /pages/พระพุทธเจ้า


ความตรึก ๙ อย่าง
ภิกษุทั้งหลาย ! พึงเข้าไปตัดความตรึกธรรมที่อาศัยความตรึก และความคะนอง
ความตรึก ๙ อย่าง คือ

๑. ความตรึกใน กาม
๒. ความตรึกใน ความพยาบาท
๓. ความตรึกใน ความเบียดเบียน
๔. ความตรึกถึง ญาติ
๕. ความตรึกถึง ชนบท
๖. ความตรึกถึง เทพเจ้า
๗. ความตรึก เกี่ยวเนื่องด้วยความเอ็นดูผู้อื่น
๘. ความตรึก เกี่ยวเนื่องด้วยลาภ สักการะ และความสรรเสริญ
๙. ความตรึก เกี่ยวเนื่องด้วยความไม่ถูกดูหมิ่น
ความคะนอง หรือกิริยาที่คะนอง ความเดือดร้อนจิต ใจฟุ้งซ่าน เกิดขึ้น ด้วยเหตุ ๒ อย่าง คือ
๑. เพราะทำ คือ กายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ และมโนทุจริต ๓
๒. เพราะไม่ได้ทำ คือ กายสุจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓
(พระไตรปิฏก)