ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: เมษายน 30, 2014, 06:14:24 pm »




ลมหายใจแห่งความสุขเปิดข้อความที่ซ่อน

[spoiler]http://www.youtube.com/watch?v=lwpLgy_LHc0[/spoiler]

:07: :07: :07:

สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ

กราบพี่ แป๋ม ครับ

บทเพลงพุทธบุตรลีลา สามเณรปลูกปัญยาธรรมปี ๓



เปิดข้อความที่ซ่อน
[spoiler]http://www.youtube.com/watch?v=C9X2KZVH1Ms[/spoiler]

วันพฤหัสบดี 1 พฤภาคม 2557
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 27, 2014, 04:17:15 pm »


http://youtu.be/mHsu4LsY3jc Bew Chan Published on Apr 7, 2012
สวดมนต์แปล สวนโมกข์
สวดมนต์ สาธยายธรรม เกี่ยวกับสิ่งที่ล่วงไปแล้ว
ไม่ควรคำนึงถึง ควรทำปัจจุบันให้ดี
***************************


Suraphol Kruasuwan
originally shared to ชาวพุทธ (สนทนาธรรมตามกาล):
 
หน้ากาล หรือหน้ากาฬ พบในพุทธศิลป์
แต่ส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็น"ราหู"
ความหมายคือ
"เวลากลืนกินทุกสรรพสิ่ง แม้นแต่ตัวเวลาเอง"
"บุคคล ไม่พึงคำนึงถึงอดีตด้วยอาลัย
ไม่พึงกังวลถึงอนาคตที่ยังมาไม่ถึง
พึงทำปัจจุบัน ให้ถึงพร้อม ด้วยความไม่ประมาทเถิด
"

ภัทเทกรัตตคาถา
(หันทะ มะยัง ภัทเทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะเส)


อะ ตี ตัง นา นวา คะ เมย ยะ ... นัป ปะ ฏิ กัง เข อะ นา คะ ตัง
บุคคลไม่ควรตามคิดถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว
ด้วยอาลัย และไม่พึงพะวงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง

ยะ ทะ ตี ตัม ปะ หี นัน ตัง ... อัป ปัต ตัญ จะ อะ นา คะ ตัง
สิ่งที่เป็นอดีตก็ละไปแล้ว สิ่งเป็นอนาคตก็ยังไม่มา

ปัจ จุป ปัน นัญ จะ โย ธัมมัง .. ตัต ถะ ตัต ถะ วิ ปัส สะ ติ
อะ สัง หิ รัง อะ สัง กุป ปัง ... ตัง วิท ธา มะ นุ พรู หะ เย
ผู้ใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหน้าในที่นั้น ๆ อย่างแจ่มแจ้ง
ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน เขาควรพอกพูนอาการเช่นนั้นไว้

อัช เช วะ กิจ จะ มา ตัป ปัง ... โก ชัญ ญา มะ ระ ณัง สุ เว
ความเพียรเป็นกิจที่ต้องทำวันนี้ ใครจะรู้ความตาย แม้พรุ่งนี้

นะ หิ โน สัง คะ รัน เต นะ ... มะ หา เส เน นะ มัจ จุ นา
เพราะการผัดเพี้ยนต่อมัจจุราชซึ่งมีเสนามาก ย่อมไม่มีสำหรับเรา

เอ วัง วิ หา ริ มา ตา ปิง ... อะ โห รัต ตะ มะ ตัน ทิ ตัง
ตัง เว ภัท เท กะ รัต โต ติ ... สัน โต อา จิก ขะ เต มุ นิ.
มุนีผู้สงบ ย่อมกล่าวเรียก ผู้มีความเพียรอยู่เช่นนั้น ไม่เกียจคร้าน
ทั้งกลางวันกลางคืนว่า "ผู้เป็นอยู่แม้เพียงราตรีเดียว ก็น่าชม."

-http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/003592.htm