ปรัชญาภควัทคีตา ๑ ภควตฺ = พระผู้เป็นเจ้า คีตา=บทเพลง
ภควทฺคีตา คือ บทเพลงแห่งพระผู้มีพระภาค
เป็นบทร้อยกรอง 701 โศลก รวม 18 อัธยายะ
อัธยายะ 1-6 ว่าด้วย มรรควิธีสู่ความหลุดพ้น
อัธยายะ 7-11 ว่าด้วย การประกฎองค์ของพระเจ้า
อัธยายะ 12-18 ว่าด้วย ความรักที่พระเจ้ามีต่อมวลมนุษย์ (คำสอนใหม่ ในฮินดู)
ช่วงเวลาที่รจนา ไม่ชัดเจน สันนิษฐานว่าราว 200 B.C. (Garbe)
นักวิชาการเห็นแย้งกัน Dr. Whecler : ราวยุคศาสนาพราหมณ์ (ก่อนพุทธกาล)
และต่อเนื่องมาถึงสมัยฮินดูปฏิรูป (หลังค.ศ.1)
ภควัทคีตาเป็นส่วนหนึ่งของภีษมบรรพ ในมหาภารตะ (ภควัทคีตาแยกเป็นคัมภีร์ต่างหาก)
เนื้อความ พระกฤษณะสอนปรัชญาแก่อรชุน
ภควัทคีตาได้รับอิทธิพลจากอุปนิษัท “สรรพอุปนิษัททั้งหลายคือฝูงโค
ผู้รีดนมคือ ศรีกฤษณะ ลูกโคคือ อรชุน ซึ่งเป็นผู้เสวยนม และน้ำนมคือคีตา”
อาตมัน /โยคะ3
พรหมัน / ปรมาตรมัน
อวิทยา - สังสาระ / วิทยา - โมกษะ
ภควัทคีตาเป็นคัมภีร์ประเภท “สมฤติ” มนุษย์แต่งขึ้น ต่างจาก “ศรุติ”
นอกจากอุปนัทแล้ว ภควัทคีตายังได้รับอิทธิพลจาก ปรัชญาสางขยะ และโยคะ ประกฤติ และปุรุษะ
อิทธิพลกระแสที่ 3 ภควัทคีตาได้รับจาก “ภาควตะ(Bhagavata)” คัมภีร์ปุราณะที่อยู่ในช่วงก่อนพุทธกาล
จุดเด่นของคำสอนในคีตา – ให้มนุษย์คลายความสับสน คลายความกลัวหรือความไม่มั่นใจ
สถานการณ์ที่เผชิญอยู่ เมื่อถึงภาวะวิกฤต หรือ คับขัน
การประสานความเชื่อระหว่าง สคุณพรหม กับนิรคุณพรหม
ความเชื่อตามคตินิยมพื้นฐาน เช่น ความเชื่อในวิญญาณบรรพบุรุษ การมีผู้สืบทอด
การที่ทายาทอุทิศส่วนกุศลในชีวิตหลังความตายและระบบวรรณะตามคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์