ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 05, 2010, 09:27:50 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม ปล่อยวางไม่ให้ใจเราหนักครับ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 05, 2010, 08:36:49 pm »



นิทาน : แค่วางลง

อ่านนิทานเสร็จก็ถามตนเองได้มากมาย...

 ...




 มีชายหนุ่มคนหนึ่ง รู้สึกว่าชีวิตตนเองน่าเบื่อหน่าย จึงไปขอพบพระอาจารย์เซ็นอู๋จี้
เพื่อขอคำชี้แนะ ทำอย่างไรเขาจึงจะมีความสุข

พระอาจารย์ก็หยิบตะกร้าไม้ไผ่ให้ใบหนึ่ง นำชายหนุ่มไปยังริมแม่น้ำเล็กๆข้างวัด
เดินเลาะไปตามริมฝั่ง
แล้วพระอาจารย์อู๋จี้ก็บอกกับชายหนุ่มว่า เจ้าเห็นก้อนหินที่อยู่ตามทางไหม

นับจากนี้ไป เมื่อเจ้าเดินไปหนึ่งก้าว ก็เก็บก้อนหินขึ้นมาก้อนหนึ่ง แล้วใส่ลงไป
ในตะกร้าไม้ไผ่บนหลัง

แม้ชายหนุ่มจะไม่เข้าใจเจตนาของพระอาจารย์อู๋จี้ แต่ก็ทำตาม เดินไป
ก็เก็บก้อนหินใส่ตะกร้าไปพลาง
ไม่นานเขาก็เริ่มรู้สึกเหนื่อยล้า ตะกร้าไม้ไผ่บนหลังหนักขึ้นเรื่อยๆ จนเดินไปสุดทาง

พระอาจารย์อู๋จี้ก็ถามว่ารู้สึกอย่างไรบ้าง
เขาตอบว่า ตะกร้าหนักขึ้นเรื่อยๆจนแทบจะแบกไม่ไหวแล้ว

พระอาจารย์อู๋จี้จึงกล่าวว่า รู้ไหมว่าเหตุใดจึงไม่เป็นสุข เพราะเจ้าแบก
สิ่งของเอาไว้มากเกินไป
จากนั้นพระอาจารย์อู๋จี้ก็หยิบก้อนหินในตะกร้าไม้ไผ่ออกมาทีละก้อน แล้วพูดว่า…

ก้อนนี้คืออำนาจ   ก้อนนี้คือเงินทอง

ก้อนนี้คือหญิงงาม   ก้อนนี้คือความทุกข์

ก้อนนี้คือความกลัดกลุ้ม   ก้อนนี้คือความเหงา


...

เมื่อหยิบก้อนหินโยนทิ้งจนหมด ชายหนุ่มสะพายตะกร้าขึ้นมาอีกครั้ง
ก็รู้สึกเบาโล่ง  ทำให้เขาได้สติขึ้นมาทันที...



“แค่วางลง ก็เป็นสุขแล้ว”

อ่านนิทานเสร็จก็ถามตนเองได้มากมาย... ...เราเองเก็บก้อนหินมามากมายเพียงใด
 ...เราเองเก็บก้อนอะไรมาบ้าง

 ...เราเองเก็บก้อนเหล่านี้ไว้ทำไม   ...เราเองคิดอย่างไรเมื่อก้มหน้าเก็บก้อนเหล่านี้
และถ้า…   
...เราเองไม่เก็บก้อนเหล่านี้ไว้จะเป็นอย่างไร

...



“อัลเบิร์ต ฮับบาร์ด นักเขียนนักปรัชญา กล่าวไว้ว่า ความสุขที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของชีวิต
ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับคุณได้รับอะไร แต่ขึ้นอยู่กับคุณปล่อยวางอย่างไร”



ที่มา : หนังสือ "วางลงก็เป็นสุข"   เขียนโดย "เซียวเย่ว์" แปลโดย “คุณสุทธิมา โพธิ์เงิน
ภาพ : Fwd เมลล์, internet
Credit by : http://mblog.manager.co.th/septimus/th-72050/

ขอบพระคุณที่มาทั้งหมดมากมาย..  ขออนุญาตนำมาเผยแพร่ค่ะ
สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ