ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Plusz
« เมื่อ: ตุลาคม 07, 2010, 05:56:01 pm »

ส่วนผสม   
  เต้าหู้แข็งหั่นเป็นชิ้นเล็ก  2 แผ่น   
  เห็ดหอมแห้งแช่น้ำ 10   ดอก   
  ฟองเต้าหู้ (แช่น้ำจนนุ่ม)   1 ขีด   
  หัวไช้เท้าหั่นชิ้นพอคำ  1 หัว   
  แครอทหั่นชิ้นพอคำ  1 หัว   
  โป๊ยกั๊ก   5  ดอก   
  อบเชยหักเป็นท่อน 1  แท่ง   
  ผงพะโล้  1 ช้อนโต๊ะ   
  ข่า  3-4 แว่น   
  น้ำตาลทรายไม่ขัดขาว 1/4 ถ้วย   
  น้ำตาลปึก  2 ช้อนโต๊ะ   
  ซีอิ๊วขาว  2  ช้อนโต๊ะ   
  น้ำมันพืช  3 ช้อนโต๊ะ   น้ำสำหรับแช่เห็ดหอม  8 ถ้วย 
  เกลือ  2 ช้อนชา   ผักชีเด็ดเป็นใบสำหรับโรยหน้า  1-2 ต้น

วิธีทำ 
- ทอดเต้าหู้ในน้ำมันพอเหลือง พักไว้
- เอาน้ำตาลทรายไม่ขัดขาวใส่กระทะตั้งไฟจนละลายกลายเป็นสีเหลือง 
- ใส่ข่า อบเชย โป๊ยกั๊ก ลงผัด โรยผงพะโล้ลงไป จากนั้นเติมน้ำแช่เห็ดหอมลงไป 2 ถ้วย เคี่ยวจนน้ำตาลละลาย
- ปรุงรสด้วยซีอิ๊วขาว เกลือ น้ำตาลปึก 
- ใส่เห็ด เต้าหู้ทอด ฟองเต้าหู้ จากนั้นใส่หัวไช้เท้าและแครอทตามลงไป เติมน้ำแช่เห็ดหอมที่เหลือลงไป เคี่ยวจนน้ำพะโล้ซึมเข้าไปในเต้าหู้ ชิมรสอีกที ตักเสิร์ฟ โรยด้วยผักชีนิดหน่อย

 
หมายเหตุ : การใช้น้ำตาลทรายไม่ขัดขาวใส่กระทะตั้งไฟ (โดยไม่ต้องเติมน้ำ) จนละลายกลายเป็นสีเหลือง ช่วยให้พะโล้หอมน่ากินยิ่งขึ้น
 
นิตยสารชีวจิตฉบับที่ 226
   
    แหล่งข้อมูล : www.cheewajit.com