ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มีนาคม 19, 2011, 11:34:17 am »





ว่าด้วยการหาความสงบในจิตใจ

เมื่อข้าศึกรุกเข้ามาได้ถึงตัวเมืองพระสงฆ์ในวัดก็หนี เข้าป่าไปหมด
เหลือแต่เจ้าอาวาสองค์เดียว เมื่อแม่ทัพมาถึงวัด
ก็รู้สึกขัดเคืองที่เจ้าอาวาสไม่แสดงอาการหวาดกลัว เขาตวาดว่า

“ท่านไม่รู้หรือว่า กำลังเผชิญหน้ากับผู้ที่สามารถฟันท่านขาดสองท่อน
ได้โดยไม่ต้องกระพริบตา”

เจ้าอาวาสตอบอย่างสงบว่า

“และท่านกำลังเผชิญหน้ากับผู้ที่สามารถถูกฟันขาดสองท่อนได้
โดยไม่ต้องกระพริบตา”

แม่ทัพจ้องดูเจ้าอาวาส ทำความเคารพ และกลับออกไปอย่างสงบ

ความสงบทางจิตวิญญาณ เป็นความสงบที่ปราศจากความกลัวใดๆ
ปราศจากการมีอัตตา การสงบทางจิตวิญญาณ
จะเกิดขึ้นได้ ด้วยการฝึกฝนจิตจนเกิดปัญญาเห็นแจ้งใน ไตรลักษณ์






พระพุทธเจ้าแนะอุบายทำให้จิตสงบ หรือกถาวัตถุ ๑๐ ประการ ดังนี้

   1. มักน้อย  เมื่อมักน้อยแล้วจิตจะนิ่งง่าย  เพราะสิ่งกระทบใจให้เกิดความโลภ  โกรธ  หลงลดน้อยลง
   2. สันโดษ  หากต้องการให้จิตสงบต้องสันโดษ  คือ  รู้จักพอใจในสิ่งที่ตนเป็น  ตนมี  ตนได้รับ  แล้วจิตจะสงบ  มีความสุข  ไม่ว้าวุ่น และไม่ดิ้นรน
   3. ความสงัด  พยายามหาโอกาสอยู่ในที่ที่สงบเงียบ สงัดกายสงัดใจ  เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ  แล้วจะทำให้จิตสงบได้ง่ายขึ้น
   4. ปลีกตัวออกจากหมู่คณะ  หากต้องการประพฤติปฏิบัติธรรมให้ได้มรรคผลก้าวหน้าจึงต้องพยายามปลีกตัวอยู่ ห่างจากหมู่คณะ  เพื่อจะได้ไม่ต้องพูดคุยและทำในเรื่องที่ไร้สาระ  กระตุ้นให้เกิดกิเลสตัณหาที่จะทำให้ จิตสงบยาก
   5. ความเพียร  หากต้องการให้จิตสงบเพื่อความก้าวหน้าในมรรคผล ต้องเจริญความเพียรให้มาก เพราะความเพียรเป็นตัวการสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จทุกประเภท

   6. ศีล   ศีลเป็นพื้นฐานของความสงบนิ่งของกายและใจและเป็นปกติของจิต
   7. สมาธิ  เพื่อให้จิตสงบนิ่ง และนำสมาธิไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเกื้อกูลต่อการประพฤติปฏิบัติ
   8. ปัญญา  เมื่อเกิดสมาธิขึ้นแล้วต้องรู้จักนำปัญญาที่เกิดจากสมาธิมาพิจารณาสิ่งกระทบ จนปัญญาญาณเห็นแจ้งเกิด  เพื่อให้จิตปล่อยวางสิ่งที่เป็นอนัตตา  ไม่มีตัวตน  และสงบนิ่งอย่างแท้จริงด้วยอุเบกขา
   9. ความหลุดพ้น  เมื่อปฏิบัติแล้วต้องโยนิโสมนสิการจนกระทั่งจิตสามารถเห็นแจ้งถึงความไม่ เที่ยง  เป็นทุกข์  และเป็นอนัตตาของสรรพสิ่ง  แล้วความหลุดพ้นจากสิ่งเศร้าหมองคือ กิเลสใหญ่ทั้ง 3  ตัว คือ  โลภ  โกรธ  หลง  จึงจะเกิด  และสามารถนำจิตพ้นไปจากกิเลสที่เหลือได้
  10. ความรู้ความเห็นว่าหลุดพ้น  โดยการพิสูจน์ด้วยการประพฤติปฏิบัติจนเห็นจริงด้วยตัวเอง

        อุบายทั้ง  10  นี้จึงเป็นสิ่งที่เราควรจะนำไปประพฤติปฏิบัติเพื่อสร้างความสงบให้เกิดขึ้น แก่ใจ  ไม่ต้องหาความสงบนอกกายอีกต่อไป

   
   



โดย ดร.อภิวรรณ รัตนิน สายประดิษฐ์
(aphivan@gmail.com)
http://www.pendulumthai.com/nitantham_main.html
Pics by : Google
อกาลิโกโฮม * สุขใจดอทคอม
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ