ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มีนาคม 12, 2013, 12:26:55 am »

 :45: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มีนาคม 08, 2013, 05:26:40 pm »





ดูกร ภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ
อันภิกษุ เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อม มีผลมาก
มี อานิสงส์มาก ภิกษุที่เจริญ อานาปานสติแล้ว
ทำให้มากแล้ว ย่อม บำเพ็ญ  สติปัฏฐาน 4  ให้บริบูรณ์ได้
ภิกษุที่ เจริญสติปัฏฐาน 4 แล้ว ทำให้ มากแล้ว
ย่อม บำเพ็ญ  โพชฌงค์ 7
ให้บริบูรณ์ได้
ภิกษุที่เจริญ โพชฌงค์ 7 แล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อม บำเพ็ญ  วิชชา  และ  วิมุตติ
ให้บริบูรณ์ได้ ฯ

— อานาปานสติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔



อานาปานสติ (–ปานะสะติ) มีอยู่ 16 คู่ คือ
1.หายใจเข้า-ออกยาวรู้
2.หายใจเข้า-ออกสั้นรู้
(ลมหายใจเริ่ม ละเอียดขึ้น เมื่อใจเป็นสมาธิ)
3.หายใจเข้า-ออกกำหนด กองลมทั้งปวง
(จิตจะกำหนด แต่ กองลมในกาย ถ้าบริกรรมคำใดอยู่ เช่น พุทโธ คำบริกรรมจะหายไปเอง)
4.หายใจเข้า-ออกเห็น กองลมทั้งปวง สงบก็รู้
(จับลมหายใจ ไม่ได้ เหมือน ลมหายใจหายไป)

5.หายใจเข้า-ออกปีติ เกิดก็รู้
6.หายใจเข้า-ออก สุขเกิดก็รู้
7.หายใจเข้า-ออก กำหนด จิตสังขาร
(อารมณ์ต่างๆ ที่จรเข้า มาปรุงแต่งจิต เช่น รัก ราคะ โกรธ หลง) ทั้งปวง /ที่เหลือ เพียงอารมณ์ อุเบกขา
(ถ้า กำหนดมา ตามระดับ)
8.หายใจเข้า-ออก เห็น จิตสังขาร สงบก็รู้
(ครูบาอาจรย์บางรูป วินิจฉัยว่า ช่วงนี้จิตจะ ไม่กำหนดสัญญา)

9.หายใจเข้า-ออก พิจารณาจิต (พิจารณา สภาวะรู้
(วิญญาณขันธ์) ว่า จิตพิจารณารู้ใน อานาปานสติอยู่
10.หายใจเข้า-ออกจิตบันเทิง
(มโน-สภาวะที่น้อม พิจารณาเพ่งอยู่ จิตยินดีใน องค์ภาวนาคืออานาปานสติ) ก็รู้
11.หายใจเข้า-ออก จิตตั้งมั่น
(ในอารมณ์ฌาน ของ อานาปานสติ) ก็รู้
12.หายใจเข้า-ออกจิตเปลื้อง
(ในอุคคหนิมิต และ ปฏิภาคนิมิต แห่ง อานาปานสติ) ก็รู้

13.หายใจเข้า-ออก พิจารณาเห็น ความไม่เที่ยง (อนิจจัง ) ในขันธ์ทั้ง 5 (มีลมหายใจ เป็นตัวแทน รูปขันธ์)
14.หายใจเข้า-ออก พิจารณาโดย ไม่ปรุงแต่ง
(การไม่ปรุง แต่งภายนอก หรือวิราคะ คือ การมีมานะให้ค่าตีราคาสรรพสิ่ง เช่น ต้นไม้ ย่อมมีลักษณะ เป็นไปตามธรรมชาติ เราตัดสินว่าต้นไม้ นี่ลักษณะสวย ต้นไม้นี่ ลักษณะไม่สวย)
15.หายใจเข้า-ออก พิจารณาโดยไม่ยึดติด (การไม่ยึดมั่นภายใน หรือนิโรธ เช่นมี คนนำขวดน้ำ มาวางไว้ ข้างหน้าเรา ให้เรา ต่อมามีคนคว้ามันไปกิน เราโกรธว่า กินน้ำเรา คือ ความยึดมั่นนั้น เพิ่งเกิด เมื่อเราไปยึดไว้)
16.หายใจเข้า-ออกปล่อยให้ เป็นไปตาม ธรรมชาติ (ปฏินิสสัคคายะ)

จัดให้ข้อ1-4 เป็น กายานุปัสสนา
ข้อ5-8 เป็น เวทนานุปัสสนา
ข้อ9-12 จัด เป็น จิตตานุปัสนา
ข้อ13-16 จัดเป็น ธรรมนุปัสสนา

อานาปานสติ เป็นกรรมฐาน ที่เหมาะสม กับ คนทุกคน และเลือกได้ หลากหลาย มี ความลึกซึ้ง มากดังจะ อธิบายต่อไป เนื่องจาก อานาปานสติ สามารถ ที่ภาวนาลัด ให้มา
สู่ สัมมสนญาน 1ใน ญาณ16 ได้ โดยไม่ต้อง เจริญสติและพิจารณาสัญญา 10ไปด้วย เหมือนอย่างอื่นๆ
เมื่อเจริญอานาปานสติ ตามข้อ1 สภาวะย่อม เป็นไปโดยลำดับจากข้อ 1 จนถึงข้อ12 จิตจะเป็น ปฐมฌาณ อันเกิดจากการเจริญสติ (เกิดสัมมสนญาณ) จะพบ เห็นขันธ์ ทั้งห้าที่หลงเหลืออยู่ในขณะขั้น เกิดดับได้ เมื่อขณะจิตเป็นฌาณ ซึ่งเหลือเพียง10สภาวะ

โดยที่ข้อ3-4 เป็น รูปขันธ์
ข้อ5-6 เป็น เวทนาขันธ์ (มีเพียงปีติและสุข)
ข้อ7-8 เป็น สังขารขันธ์
ข้อ9-10 เป็น วิญญาณขันธ์
ข้อ11-12 เป็น สัญญาขันธ์

เมื่อเห็น ขันธ์ทั้งห้า ตามตั้งแต่ข้อ1-12 ย่อมเห็น ขันธ์ห้า
(อันมี ลมหายใจ เป็นตัวแทน แห่งรูปขันธ์)
เกิดดับ ตลอดจนเห็น เป็นอนิจจัง

( ข้อ13หายใจเข้า-ออก พิจารณาเห็น ความไม่เที่ยง )
โดย สมบูรณ์พิจารณา ข้อ13 ไป จนบรรลุ ข้อ14
หายใจเข้า-ออก พิจารณา โดยไม่ปรุงแต่ง ,
15 พิจารณา โดยไม่ยึดติด ,
16 หายใจเข้า-ออกปล่อย ให้เป็นไป ตามธรรมชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


-http://www.facebook.com/pages/พระพุทธเจ้า/166387296709841