ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 10, 2010, 11:21:17 pm »

 :45: ขอบคุณครับพี่หนุ่ม
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: กันยายน 10, 2010, 10:21:10 pm »

เตือนปชช.อย่าหลงเชื่อโฆษณาเครื่องดื่มลดความอ้วน

    * คุณภาพชีวิต
    * เรื่องเด่น

เพราะอาจได้รับยาลดความอ้วนที่ห้ามใช้ในอาหาร

 

 

          กระทรวง สาธารณสุขเผยผลตรวจวิเคราะห์สารให้ความหวานในผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม ลดความอ้วน (ไดเอต) จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบมีการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาล บางผลิตภัณฑ์ใส่สารให้ความหวานเกินมาตรฐาน เตือนประชาชนอย่าหลงเชื่อโฆษณาเครื่องดื่มหรือกาแฟลดความอ้วน เพราะอาจได้รับยาลดความอ้วนที่ห้ามใช้ในอาหาร เพราะอาจเป็นอันตรายได้

 

          ดร.พรรณ สิริ กุลนาถศิริ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า ปัจจุบันเครื่องดื่มหลายชนิดได้นำสารให้ความหวานแทนน้ำตาลมาใช้ สารให้ความหวานเหล่านี้มีความหวานมากกว่าน้ำตาลหลายเท่า และให้พลังงานต่ำหรือไม่ให้พลังงาน จึงเหมาะที่จะนำมาใช้ในผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก โดยสารให้ความหวานที่พบว่า นิยมนำมาใช้ในเครื่องดื่มชนิดต่างๆ ได้แก่ แอสปาร์เทม (Aspartame) อะซีซัลเฟม-เค (Acesulfame-K) ซัคคาริน (Saccharine) ซูคลาโลส (Sucralose)

 

          หากรับประทานในปริมาณมากก็อาจทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ โดยเฉพาะสารแอสปาร์เทม ไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรค phenylketonuria ซึ่งเป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับความบกพร่องของการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ทำให้เกิดการสะสมของเฟนิลอะลามีน (Phenylalamine) เกิดอาการโลหิตเป็นพิษได้

 

          สำนัก คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้สำรวจวิเคราะห์ปริมาณสารให้ความหวานที่มีการใช้ในเครื่องดื่มลดความอ้วน ชนิดต่างๆ รวมทั้งสิ้น 84 ตัวอย่าง

 

          ผล การตรวจวิเคราะห์พบว่า เครื่องดื่มมีการใช้สารให้ความหวานร่วมกัน 2 ชนิด คือ แอสปาร์เทม และอะซีซัลเฟม-เค โดยน้ำอัดลมพบสารแอสปาร์เทม 98 และพบสารอะซีซัลเฟม-เค 56.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม น้ำรสผลไม้พบสารแอสปาร์เทม 82 พบสารอะซีซัลเฟม-เค 82 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และน้ำหวานเข้มข้นพบสารแอสปาร์เทม 221.4 พบสารอะซีซัลเฟม-เค 261.2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่ปริมาณสารไม่เกินมาตรฐานที่ Codex กำหนด ยกเว้นเครื่องดื่มชนิดผง รวมทั้งโกโก้และกาแฟปรุงสำเร็จจะมีการใช้สารให้ความหวาน 2 ชนิดที่เกินมาตรฐาน คือ พบสารแอสปาร์เทม 564 และพบสารอะซีซัลเฟม-เค 1,040 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่เนื่องจากเครื่องดื่มประเภทนี้ผู้บริโภคต้องเจือจางก่อนรับประทาน

 

          สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นผู้พิจารณาจากวิธีเจือจาง Codex ได้กำหนดมาตรฐานสารให้ความหวานในเครื่องดื่มชนิดต่างๆ ดังนี้

 

          -สารแอสปาร์เทม มีในเครื่องดื่มชนิดต่างๆ ได้ไม่เกิน 600 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

 

          -สารอะซีซัลเฟม-เค  มี ในเครื่องดื่มประเภทน้ำหวาน น้ำผลไม้ ได้ไม่เกิน 350 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่ในเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ ธัญพืช สมุนไพรและโกโก้มีได้ไม่เกิน 600 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

 

          -สาร ซัคคาริน มีในเครื่องดื่มประเภทน้ำหวาน น้ำผลไม้ ได้ไม่เกิน 80 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่ในเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ ธัญพืช สมุนไพรและโกโก้มีได้ไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จากการตรวจวิเคราะห์ พบว่า ส่วนใหญ่ไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด

 

          อย่างไรก็ตามยังพบว่า มีการโฆษณากาแฟหรือผลิตภัณฑ์ลดความอ้วน บางยี่ห้อ มีการเติมสารคาร์นิทีน (Carnitine) โดยกล่าวอ้างสรรพคุณสามารถลดความอ้วน และบางผลิตภัณฑ์เติมสารคอลลาเจน (collagen) โดยกล่าว อ้างสรรพคุณว่า บำรุงสุขภาพ ลดรอยเหี่ยวย่น ซึ่งการเติมสารเหล่านี้ลงในผลิตภัณฑ์ยังไม่มีรายงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สนับสนุน นอกจากนี้ ยังมีบางผลิตภัณฑ์ผสมยาลดความอ้วน ได้แก่ ไซบูทามิน (Sibutamin) ซึ่งห้ามใช้ในอาหาร และอาจเกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้

 

          ก่อนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ควรเลือกเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค


ที่มา : หนังสือพิมพ์คมชัดลึก

http://www.thaihealth.or.th/node/16954