หนังสือแนวทางปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์พระครูอรุณธรรมรังษี (ลุน ณ อุบล)
ส า ร บั ญ
มหาฐาน ๗
ตอนที่ ๑ กามาวจรภูมิ ภพ ๓ ภูมิ ๔
มนุษย์ ๔ พวก
ธรรมเครื่องประพฤติในสังคม
ทางใหญ่ที่ห้ามไม่ให้จร
คุณสมบัติอุบาสก ~ อุบาสิกา
กามาวจรกุศล
อารมณ์ของจิตในเวลาตาย
สมาธิที่เป็นกามาวจร
กรรมที่ให้ผลโดยลำดับ ๔ กรรม
ทวารสมมุติ ~ ทวารวิมุติ
รู้จักทางตาย
การเกิดเปรียบด้วยการมาค้าขาย
ธรรมุเทศ ~ ธรรมสังเวช
ตอนที่ ๒ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ และโลกุตตรภูมิ
นิวรณ์ ๕ เปรียบเหมือนโรคเกิดทางใจ
มหาฐาน ๗
ฐานที่ ๑ ให้เพ่งดูหทัยวัตถุ เจตสิกธรรม ๕๒ เปรียบเหมือนธาตุต่าง ๆ
ภวังคจิต ~ วิถีจิต
อารมณ์ของจิต ๘๙ ดวง
ฐานที่ ๒ ให้วางความคิด การฝึกจิตให้ตั้งอยู่ในสมาธิ
มารเข้าประจญในเวลาทำสมาธิ
วสีความชำนาญในการเข้าฌาน
เครื่องหมายในทุติยฌาน
เครื่องหมายในจตุตถฌาน นิมิตเกิดในสมาธิ
มารโดยธรรมาธิษฐาน
อัปปนาชวนะวิถี
ขึ้นอรูปาวจรภูมิ , ฌานเสื่อมอย่างไร
จะไปนิพพานได้หรือไม่ได้ในชาตินี้
ธาตุของจิต และวัตถุอันเป็นที่ตั้งของจิต
ฐานที่ ๓ วิปัสสนา โลกธรรม ๘
กามภายนอก กามภายใน
จิตหลุดพ้นจากภพ ๓
นิพพานไม่มีปฏิสนธิ
ที่ตั้งแห่งองค์อริยมรรค
ฐานที่ ๔ ให้เอาสติเป็นนายประตู ดู ( มโน ) ทวาร เหตุปัจจัยที่ทำให้สังขารเกิด
หทัยวัตถุเทียบกับจอหนัง
ฐานที่ ๕ ให้อยู่กับความไม่ถือมั่น วิธีวางขันธ์ ๕
การปล่อยวางอุปาทาน ๔
ฐานที่ ๖ ให้เลือกเฟ้นแห่งไตรลักษณ์ ๓ เครื่องปิดบังปัญญา
อะไรปิดบังพระไตรลักษณ์
วิตกที่ควรตรึก และไม่ควรตรึก
วิปัสสนาหยุดคิด
ขันธ์เป็นเองและขันธ์ดัดแปลง
การกำหนดอุทยัพพยญาณ
อธิบายอริยสัจจ์ ๔
ฐานที่ ๗ ให้ถามถึงผู้ไม่ตาย ๔ พระอริยเจ้ากับปุถุชน ถือไตรสรณาคมน์ต่างกัน
พระพุทธตุ๊กตา ๐ พระธรรมเวทมนต์กลคาถา
พระพุทธะ กับ พระปัจเจกพุทธะ
ดวงตาเห็นธรรม ~ ไม่ลูบคลำหนทาง
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตาทั้งสิ้น
ทางสำหรับผู้ที่จะไปสู่พระนิพพาน
โลกบังธรรม ~ อารมณ์บังจิต
ปัญหาธรรม ๗ ข้อ โลกกับอารมณ์
จิตที่อยู่กับภพเป็นเหตุวัฏฏหมุน
วิธีเพิกโลกจากธรรม
สมาธิเป็นคู่ปรับกับนิวรณ์
เพิกโลกออกจากธรรมด้วยปัญญาวิมุติโลกกุตตร
เพิกโลกออกจากธรรมด้วยเจโตวิมุติโลกุตตร
โลกุตตรฌาน
อรูปาวจรจิต
โคตรภูจิต
อารมณ์ปัจจัย
อารมณ์ ๖ เปรียบเหมือนลม ๖ จำพวก
เพิกรูปฌาน * อรูปฌานออกจากจิต
อารมณ์ในโลกสาม
ความเห็นตัวเราย่นลงในบุคคล ๒ จำพวก ยิ่ง ๕ ยิ่ง
สติเป็นตา ปัญญาเป็นกล้องส่องดูตัวเรา
อารมณ์ของจิต เวลาเป็น และตาย
ไม่อยากเกิดให้ถือเอาพระไตรลักษณ์เป็นอารมณ์
สัมภเวสี สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด
ธรรมธาตุ ๗ หลอกให้เกิดให้ตาย
การฆ่าผี คือการฆ่าตัวธรรมธาตุ ๗
วัฏฏความหมุนเวียนของ ชาติและภพ
วิธีฆ่าผี คือตัวธรรมธาตุ ๗ ให้ตาย
สรุปเรื่อง โลกบังธรรม ~ อารมณ์บังจิต อวิชาโดยบุคคลาธิษฐาน
บุคคลาธิษฐาน กับ ธรรมาธิษฐาน
โลกุตตรมโน
กายสามชั้น
สริรกาย ๐ ทิพยกาย ๐ ธรรมกาย ต้นสายของสัตว์โลก
กลางสายของสัตว์โลก
พระยายมราช
เอกเหตุสัตว์ ๐ ทุเหตุสัตว์ ๐ ไตรเหตุสัตว์
ปลายสายของสัตว์โลก
ธรรมนิยมเป็นเครื่องตัดวัฏฏไม่ให้หมุน
อิฏฐารมณ์ ๐ อนิฏฐารมณ์
สริรกายเป็นผู้รับใช้ทิพยกาย
เที่ยวเกิด ๐ เที่ยวตาย ไม่มีที่สิ้นสุด
พึงเลือกเฟ้นธรรมด้วยอุบายของปัญญา
กรรมนิยม ๐ กรรมนิมิต
คตินิมิต
มโนน้อมไปสู่อารมณ์
ธรรมกาย อาศัยธรรมนิยมปรุงแต่ง
สัจจญาณ ๐ กิจจญาณ ๐ กตญาณ
ญาณ ๔ รอบ ๓ อาการ ๑๒
อัญญาตาอินทรีย์
สริรกายผู้รับใช้บำเพ็ญบารมี
จิต ๐ เจตสิก ๐ รูป ๐ นิพพาน
วิโมกข์ ๓
เสขะบุคคล ๓ จำพวก
อรัมณอธิปัจจัย
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ