ผู้เขียน หัวข้อ: ชมรมพระวังหน้า เพื่อพระวังหน้าและงานบุญต่างๆ  (อ่าน 357956 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
พระปิดตา 4 กร (วังหน้า)



.
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
พิมพ์หลวงพ่อเงิน (ของวังหน้า)

หลวงพ่อเงิน  วัดบางคลาน ท่านอธิษฐานจิต

(นั่นหมายความว่า  ทันท่านครับ)



.
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
กล่าวถึงหลวงพ่อเงิน  แล้วไม่กล่าวถึงหลวงปู่ศุขได้อย่างไร

ตะกรุด พิมพ์ประภามณฑล

หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า  อธิษฐานจิต

(ทันท่านเช่นกัน)

คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
พระปิดตาวังหน้า





.
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
ผู้โพส santisayan



นี่ก็อีกหนึ่งตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ทั้งๆที่เป็นพระเก่า สวยงามทั้งด้านหน้า ด้านหลัง มีพลังเหลือล้น แต่คนขายพระกิน ไม่นิยม(เพราะว่าไม่มีในครอบครอง)ไม่ต้องให้ใครมารับรอง มาเช็คพลัง คุณค่าที่มีอยู่ในองค์ท่านนั้นเป็นสิ่งที่รับรององค์ท่านเอง นี่ก็เป็นเรื่องของต่างมองต่างมุม ความไม่รู้ ความเชื่อ(ที่ได้ฟังต่อๆๆมา)ปัญญาที่ไม่ได้เกิดจากการรู้จริง เห็นจริง ห รือเกิดจากการวิเคราะห์ ด้วยเหตุ ผล จืงต้องนำมาลงให้ดูกันอีกครั้ง(ตามคำขู่)

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้



นี่เป็นด้านหลังของรูปที่แล้วไม่ต้องกลัวว่าจะโหลดไปปลอมเพราะปลอมมาแล้ว ไม่เหมือน เรื่องปลอมพระวังหน้านี้มีมานานแล้วทั้งๆรู้ว่าปลอมก็ยังไปเช่ามา การปลอมเค้ารู้ว่าจับพลังกัน เค้าก็ให้แบบเต็มๆๆโดยการจัดใหญ่จัดให้จัดหนัก เมื่อคนที่ไม่ศึกษาเรื่องเนื้อว่าเก่าจริงหรือไม่ ไม่มีความรู้ ไม่มีตัวอย่าง ไม่มีความคิดที่เป็นจริง มันก็เข้าทางคนปลอมพระขาย แหล่งใหญ่ที่ขายก็รู้ แต่ก็ยังเดินไปหาเค้าเอง แล้วโทษใคร อีกหน่อยก็คงโทษครูอาจารย์ที่ไม่บอก ไม่ได้มองที่ตัวเอง ไม่ได้คิด ไม่มีแนวทางที่เป็นไปได้ เมื่อไม่มีครูอาจารย์แล้ว จะทำอะไรเป็นไหม? อะไรถูกหรือผิด จะถามใคร ใบ้กิน พระเครื่องนี่ก็เป็นวิทยาศาสตร์ ต้องพิสูตร์ได้ ไม่ต้องมาสาบานแบบเด็กๆๆว่าจริงหรือไม่ ใช่หรือไม่ ที่สำคัญ ว่าเคยเห็นของแท้บ้างไหม? เห็นแต่ของปลอมมาตลอดก็เลยไม่รู้ว่ามีหรือไม่

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้

-http://board.palungjit.com/f179/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%81-%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-22445-2537.html#post5967132-



http://board.palungjit.com/f179/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%81-%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-22445-2537.html#post5967132


.






















คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
.

โพสโดย คุณ:::เพชร:::

-http://board.palungjit.com/f179/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%81-%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-22445-2537.html#post5967132-






พิมพ์ปิดตาวังหน้า หรือพิมพ์อธิษฐานฤทธิ์ ลองพิจารณากันครับ ลักษณะของพระกร และฝ่าพระหัตถ์ที่ยกขึ้นหากเป็นปิดตา ออกจากผิดสัดส่วนธรรมชาติการยกพระกร พระหัตถ์ขึ้นในระดับนั้นไปบ้าง หากเป็นอธิษฐานฤทธิ์ก็สมสัดส่วนมากกว่า รอบๆเป็นอักขระเลขยันต์ ไม่ใช่ปรกโพอย่างแน่นอน ลุงหนุ่มน้อย ลุงไฟดูด ลุงอ.กูรูน้องนู๋มาช่วยกันพิจารณาดูหน่อย พิมพ์นี้ผมไปพบแถบท่าน้ำนนท์ ๒ องค์ สีแดง และสีดำวางคู่กัน องค์ละร้อย คนขายไม่ทราบสำนัก

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้


--------------------------------






เป็นความบังเอิญหรือไม่ ก็ลองพิจารณาดูครับ ยุคนี้คือยุคเผยแพร่ ผมขอแก้ไขข้อมูลของ post ที่ 50732 ที่ระบุว่า พระปิดตาวังหน้า หรือพิมพ์อธิษฐานฤทธิ์ คงต้องรอให้ลุงๆทั้ง ๓ มาช่วยกันชี้แนะอีกทีเกี่ยวกับลักษณะพระพิมพ์ครับ

ที่ผมบอกว่าแก้ไขคือ ประเด็นเรื่องวังหน้า วัดชนะสงคราม มีความรู้สึกว่าแยกกันไม่ออก ลองอ่านเรื่องราวต่อไปนี้ก่อนนะครับ..

จากแยกบางลำพู เลี้ยวมายังป้อมพระสุเมรุไปตามถนนพระอาทิตย์ วกกลับย้อนขึ้นมาเลียบเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า กลับมายังย่านบางลำพูหน้าวัดชนะสงคราม ราชวรมหาวิหาร เป็นย่านเก่าแก่ยาวนานมาตั้งแต่ยุคก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์

การนำเสนอภาพชุมชนแห่งนี้ให้ชัดเจนที่สุด ต้องกล่าวถึงองค์ประกอบสำคัญ 3 ส่วนคือ ๑. วัดชนะสงคราม ๒. ชุมชนดั้งเดิมที่เป็นชาวมอญ และ ๓. เจ้าวังหน้า

เรื่องราวในอดีตย้อนลงไปกว่า ๒๐๐ ปีของชุมชนแห่งนี้ สามารถเชื่อมโยงร้อยเรียงเพื่อนำมาอธิบายภาพที่ปรากฏเป็นชุมชนพระอาทิตย์ในปัจจุบันได้อย่างไม่ขาดตอน เพราะทุกอย่างล้วนมีที่มาที่ไปสืบทอดต่อเนื่องกัน

ยุคต้นรัตนโกสินทร์ - - ที่ดินบริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาตรงถนนพระอาทิตย์ตั้งแต่ปากคลองบางลำพู ตรงข้างวัดสังเวชฯ จนถึงบริเวณท่าช้างวังหน้า (ใต้สะพานพระปิ่นเกล้า) เป็นที่ตั้งของชุมชนชาวมอญที่เข้ามาสวามิภักดิ์แหล่งใหญ่แห่งหนึ่ง หัวหน้าชุมชนรับราชการเป็น เจ้ามหาโยธา (ทอเรียะ) ต้นตระกูล คชเสนี โดยมีจุดศูนย์รวมจิตใจอยู่ที่ วัดตองปุ อันเป็นวัดเก่ามีมาก่อนตั้งกรุงฯ ต่อมาพระราชทานนามว่า วัดตองปุ และตั้งสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายรามัญมาดูแล เพื่อให้เหมือนกับวัดของชุมชนมอญอาสาครั้งกรุงเก่าฯ

ละแวกดังกล่าวอยู่ใกล้เขตพระราชฐานของกรมพระราชวังบวรฯ หรือ วังหน้า ... ครั้งเมื่อ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ชนะศึกสงครามเก้าทัพ เสด็จมาทำพิธีสรงน้ำและเปลี่ยนเครื่องทรงตามพระราชพิธีโบราณที่วัดตองปุก่อนเสด็จเข้าพระบรมมหาราชวัง จึงทรงโปรดฯ ให้บูรณะพระอารามใหม่เมื่อปี ๒๓๓๐ จากนั้นรัชกาลที่ ๑ ได้ทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดชนะสงคราม” อย่างไรก็ตาม ชาวบ้านยังคงเรียกชื่อ วัดตองปุเรื่อยมาจนถึงประมาณสมัยรัชกาลที่ ๕

เจ้ามหาโยธา ทอเรียะ มีบุตรรับราชการสืบต่อ นามว่า พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย) มีธิดาถวายตัวเป็นพระสนมเอกในรัชกาลที่ ๔ ชื่อว่า เจ้าจอมมารดากลิ่น ซึ่งให้ประสูติพระราชโอรส ทรงพระนามว่า “พระองค์เจ้าชายกฤษดาภินิหาร” ซึ่งต่อมาได้รับสถาปนาเป็น “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์”

ตระกูล คชเสนี จึงถวายที่ดินบริเวณถนนพระอาทิตย์เพื่อเป็นวังที่ประทับของพระองค์เจ้าชายกฤษดาภินิหาร ปัจจุบันคือ 'บ้านมะลิวัลย์' ที่ตั้งของสำนักงาน องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ไม่ไกลนักกับบ้านพระอาทิตย์

ด้วยทำเลที่ตั้งและความเป็นมาเกี่ยวข้องกับชุมชนมอญ วัดชนะสงคราม จึงเกี่ยวข้องกับเจ้านายวังหน้า – ชุมชนมอญพระอาทิตย์มาตั้งแต่ต้น

ในสมัยรัชกาลที่ ๒ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ (วังหน้า) ทรงนำไม้ที่รื้อพระพิมานดุสิตา ซึ่งเคยเป็นหอพระสร้างเสนาสนะถวาย จนมาถึงการบูรณะใหญ่อีกครั้งสมัยรัชกาลที่ ๖ พระศรีพัชรินทรา ฯ พระพันปีหลวง ทรงมอบหมายให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (หลานทวดของพระมหาโยธา ทอเรียะ ซึ่งมีวังอยู่ใกล้กับวัด ) บูรณะจนเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๗

รัตนโกสินทร์ยุคกลางถึงยุคปัจจุบัน - - ละแวกถนนพระอาทิตย์และวัดชนะสงคราม เป็นเขตพระราชฐานของวังหน้า จึงเป็นธรรมเนียมที่ “เจ้านายวังหน้า” ได้พระราชทานที่ดินเพื่อสร้างวัง หรือ ตำหนักประทับ ต่อเนื่องกันมาในแต่ละรัชกาล

โรงเรียนการข่าวทหารบกปัจจุบัน เคยเป็นวังของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ วังหน้าในรัชกาลที่ ๕ ลึกเข้าไปในตรอกโรงไหม เคยเป็นที่ตั้ง วังของพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์ พระโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

บ้านเจ้าพระยา ที่ทำการของ เอเอสทีวี. เดิมเป็นวังของ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวรัตน์ กรมหมื่นสถิตยธำรงสวัสดิ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (วังหน้า) ต่อมาสมัยรัชกาลที่ ๖ พระราชทานที่ดินและอาคารแก่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ พระบิดาของ ม.ร.ว.เสนีย์-คึกฤทธิ์ ปราโมช

ส่วน บ้านพระอาทิตย์ นั้น เดิมเป็นบ้านของ เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์(ม.ร.ว เย็น อิศรเสนา) เจ้านายผู้สืบเชื้อสายมาจากพระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศร์ พระโอรสใน สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์-วังหน้าในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยได้สร้างขึ้นใหม่แทนวังเดิมที่ทรุดโทรมลงเมื่อพ.ศ.๒๔๗๕

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ มีความสัมพันธ์สืบเนื่องกับชุมชนมอญพระอาทิตย์-วัดชนะสงคราม อย่างแนบแน่น บิดาของท่านคือ ม.จ.เสาวรส อิศรเสนา สมรสกับ หม่อมมุหน่าย อิศรเสนา เชื้อสายมอญชุมชนพระอาทิตย์ เมื่อยังเด็ก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ ไปเรียนหนังสือกับหลวงตา (บิดาของหม่อมมุหน่าย) ซึ่งบวชจำพรรษาอยู่ที่วัดชนะสงคราม

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ เจ้าของบ้านพระอาทิตย์ จึงมีสายใยผูกพันกับชุมชนมอญ และ วัดชนะสงคราม อย่างแยกไม่ออก

ข้อมูลจาก http://www.manager.co.th/politics/vi...=9500000129353

และประวัติของวัดชนะสงคราม ให้ดูว่า มีความเกี่ยวพันกับวังหน้า ร.๑ กันยังไง

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่า วัดกลางนา

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี มีพระราชประสงค์ที่จะสร้างสิ่งก่อสร้างขึ้นให้คล้ายคลึงกับกรุงศรีอยุธยามากที่สุด วัดที่ตั้งอยู่ใกล้พระบรมมหาราชวังได้ทรงปฏิสังขรณ์ใหม่ ตลอดจนเปลี่ยนชื่อวัดให้เหมาะสม โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อวัดกลางนาเป็นวัดตองปุ และให้เป็นวัดพระสงฆ์ฝ่ายรามัญ เช่นเดียวกับวัดตองปุที่กรุงศรีอยุธยา เพื่อเทิดเกียรติทหารชาวรามัญในกองทัพสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการต่อสู้กับพม่าในสงครามเก้าทัพ เมื่อ พ.ศ. 2328 สงครามที่ท่าดินแดง และสามสบ เมื่อ พ.ศ. 2329 และสงครามที่นครลำปางป่าซาง เมื่อ พ.ศ. 2330

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดตองปุแล้วถวายเป็นพระอารามหลวงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า วัดชนะสงคราม เพื่อเป็นอนุสรณ์ที่สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ทรงมีชัยชนะต่อพม่าในการรบทั้ง 3 ครั้ง

วัดชนะสงครามได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ทรงเริ่มดำเนินการก่อสร้างที่บรรจุพระอัฐิเจ้านายฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคลที่เฉลียงพระอุโบสถด้านหลังตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวงทรงพระราชอุทิศพระราชทรัพย์ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ดำเนินการ แต่การก่อสร้างมาแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งพระราชทานพระราชทรัพย์ให้ราชบัณฑิตยสภาดำเนินการก่อสร้าง ขณะนั้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นนายกราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงดำเนินการก่อสร้างจนเสร็จสิ้น ได้มีพิธีอัญเชิญพระอัฐิจากพระราชวังบวรสถานมงคลไปประดิษฐานใน พ.ศ. 2470

เรื่องสำคัญออีกเรื่องที่ผมกล่าวว่า แยกกันไม่ออกระหว่าวังหน้า และวัดชนะสงคราม และอีกประการคือ พระสงฆ์มอญ ลองตามอีกนิดครับ ใกล้จะขมวดปมแล้วครับ...

พระปริตรามัญ
โบราณประเพณีเก่าแก่ของไทยประการหนึ่ง ที่มีความสำคัญ และมีความหมายยิ่ง ต่อองค์พระมหากษัตริย์โดยตรง หากแต่ไม่ค่อยได้มีผู้ใดรู้จักเท่าใดนัก เนื่องจากเป็นพิธีที่ปฏิบัติกัน เฉพาะในหอศาสตราคม พระบรมมหาราชวัง และเป็นพิธีที่จัดทำขึ้นเฉพาะส่วนพระองค์เท่านั้น พิธีนี้มีความหมายอย่างยิ่งต่อพระราชกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากเป็นพิธีที่สวดเพื่อทำน้ำพระพุทธมนต์ทูลเกล้า ฯ ถวาย ส่วนหนึ่งสำหรับจัดเป็นน้ำสรงพระพักตร์ และน้ำโสรจสรง อีกส่วนหนึ่ง เพื่อประพรมพระที่นั่งองค์สำคัญ ในเขตพระราชฐานชั้นใน นอกจากนี้ พิธีดังกล่าว ยังมีลักษณะพิเศษอีกประการหนึ่งคือ จะนิมนต์เฉพาะพระสงฆ์มอญเข้ามาสวดบทสวดพระปริตรมอญเท่านั้น ความสำคัญของพิธีสวดพระปริตรรามัญ เพื่อทำน้ำพระพุทธมนต์ ในพระบรมมหาราชวังนั้น ปรากฏตามพระบรมราชาธิบาย ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า

"ในพระราชนิเวศน์เวียงวัง ของพระเจ้าแผ่นดินสยาม ตามแบบแผนบุรพประเพณีสืบมา พระสงฆ์รามัญ ได้สวดพระปริตรตามแบบอย่างข้างรามัญ ถวายน้ำพระพุทธมนต์และน้ำสรงพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าแผ่นดิน และเป็นน้ำสำหรับสรงพระพักตร์ ประพรมเป็นทักษิณาวัฏรอบขอบ ในจังหวัดพระราชมหามณเฑียรนี้ทุกวัน เป็นการพระราชพิธีมีสำหรับบรมราชตระกูลสืบมาแต่โบราณ พระสงฆ์อื่น ๆ แม้นมีฐานันดรยศปรากฏด้วยเกียรติคุณ คือ เรียนรู้พระคัมภีร์ที่เป็นพระราชาคณะเปรียญ หรือที่เป็นอาจารย์บอกภาวนาวิธี หรือพระสงฆ์ที่รู้ประกอบวิทยามนต์ดล เป็นที่นับถือของคนเป็นอันมากก็ดี ก็ไม่มีราชบัญญัติ ที่จะได้รับวาระผลัดเปลี่ยนมาสวดพระปริตรถวายน้ำพระพุทธมนต์เลย เหตุอันนี้ได้ทรงพระราชดำริว่า ชะรอยจะมีเหตุวิเศษอย่างหนึ่งแต่โบราณรัชกาล เป็นมหัศจรรย์อยู่อย่างไรแน่แท้ เพราะว่าปกติธรรมดาคนชาวภาษาใด ประเทศใด ก็ย่อมนับถือพระสงฆ์และแพทย์หมอต่าง ๆ ตามประเทศ ตามภาษาของตัว ในการสวดและการบุญต่าง ๆ แลการปริตรรักษาตนรักษาไข้ แต่การซึ่งมีนิยมเฉพาะให้พระสงฆ์รามัญพวกเดียว ประจำสวดปริตรอย่างรามัญ ในพระราชวังนี้ จะมีความยืนยันมา ในพระราชพงศาวดาร หรือจดหมายเหตุการต่อมาเป็นแน่นอนก็ไม่มี ”

อนึ่ง เมื่อมีการเสด็จพระราชดำเนินประทับแรมราตรี ณ ตำบลใดเป็นทางไกล คือเสด็จไปการสงคราม หรือแทรกโพนช้างในแผ่นดินก่อน ๆ พระสงฆ์รามัญสวดพระปริตรนี้ ก็ต้องตามเสด็จพระราชดำเนินด้วยทุกครั้ง เมื่อครั้งแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเจ้า เสด็จไปประทับอยู่กรุงลพบุรี 8 เดือน ในฤดูแล้งทุกปี ก็ได้อาราธนาพระสงฆ์รามัญวัดตองปุให้ตามเสด็จขึ้นไปตั้งอารามชื่อวัดตองปุ อยู่สวดพระปริตรถวายพระพุทธมนต์ทุกวัน อารามนั้นก็มีปรากฏจนทุกวันนี้ แลน้ำพระพุทธมนต์พระปริตรนี้ ย่อมเป็นที่เห็นว่ามีอำนาจป้องกันอุปัทวันตรายต่าง ๆ ได้จริง ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ดำรงสิริ รัตนราไชยสวริยาธิปัตย์ เถลิงถวัลยราช ณ กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์มหินทราอยุธยานี้ ก็ได้ทรงถือน้ำพระพุทธมนต์ประปริตรที่พระสงฆ์รามัญสวดถวายนั้น เป็นน้ำสรงพระพักตร์และน้ำสรงมาทุกพระองค์ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้นิพนธ์อธิบายเพิ่มเติม ถึงราชประเพณีดังกล่าวในหนังสือ "ตำนานพระปริต" โดยแสดงให้เห็นว่า แม้ปกติจะมีการแต่งตั้งตำแหน่งพระครูปริตไทย 4 รูป และพระครูปริตมอญ 4 รูป สำหรับสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ในงานพระราชพิธีโดยทั่วไปแล้วนั้น แต่สำหรับพิธีสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ที่หอศาสตราคม ในพระบรมมหาราชวังนั้นมีเฉพาะพระครูปริตมอญเท่านั้นเข้ามาสวดทุกวัน ดังความว่า

"แต่การสวดพระปริตทำน้ำพระพุทธมนตร์ ถือเป็นการสำคัญในราชประเพณีอย่างหนึ่ง มีตำแหน่งพระครูพระปริตไทย 4 รูป พระครูพระปริตมอญ 4 รูป สำหรับสวดทำน้ำพระพุทธมนตร์ ในบรรดางานพระราชพิธีซึ่งมีสรงมุรธาภิเษก พระราชาคณะไทยรูป 1 มอญรูป 1 กับพระครูพระปริต 8 รูปนั้นสวดทำน้ำพระพุทธมนตร์สำหรับสรงมุรธาภิเษกทุกงาน และโดยปกติพระครูพระปริตมอญต้องเข้ามาสวดทำน้ำพระพุทธมนตร์ที่หอศาสตราคม ทุกวัน น้ำมนตร์พระปริตนั้น ส่วนหนึ่งแบ่งส่งไปสำหรับเป็นน้ำสรงพระพักตร์และโสรจสรง อีกส่วนหนึ่งในบาตร 2 ใบให้สังฆการีถือตามพระครูพระปริต 2 รูป เข้าไปเดินประพรมด้วยกำหญ้าคาที่ในพระราชวังเวลาบ่าย 14 นาฬิกา ทุกวันเป็นนิตย์มาแต่โบราณ ”
เมื่อมีการสวดพระปริตรเป็นพิธีหลวง จึงได้ทรงแต่งตั้งพระครูพระปริตรประจำพระราชวัง สำหรับการสวดพระปริตร และสวดพระพุทธมนต์สำหรับทำน้ำมนต์ และสำหรับเสกทรายโดยเฉพาะ โดยมีพระสงฆ์ฝ่ายรามัญ 4 รูป ซึ่งแต่เดิมจำพรรษาอยู่ตามวัดต่าง ๆ ที่สังกัดอยู่ในคณะรามัญนิกาย เช่น วัดบวรมงคล วัดราชคฤห์ วัดชนะสงคราม เป็นต้น ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนแปลง เป็นพระสงฆ์มอญจากวัดชนะสงครามเพียงอารามเดียว ทั้งนี้สาเหตุอาจเนื่องมาจากการจัดเวรหมุนเวียนพระแต่ละแห่งเกิดความไม่ สะดวก หรือเป็นเพราะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีพระที่สวดพระปริตรรามัญหลบภัยสงครามไปอยู่ตามวัดในต่างจังหวัด จะเหลืออยู่ก็แต่ที่วัดชนะสงคราม จึงได้สวดวัดเดียวนับแต่นั้นมา
ตำแหน่งพระครูปริตรรามัญทั้ง 4 รูป ได้แก่

1. พระครูราชสังวร
2. พระครูสุนทรวิลา
3. พระครูราชปริต
4. พระครูสิทธิเตชะ
ตำแหน่ง พระครูปริตรามัญทั้งหมดนี้ ปัจจุบันประจำอยู่ที่วัดชนะสงคราม รับหน้าที่เข้าไปสวดพระปริตรทำน้ำพระพุทธมนต์ ในพระบรมมหาราชวังที่หอศาสตราคมเรื่อยมา จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2489 ปรากฏว่า พระสงฆ์ที่สามารถสวดพระปริตรามัญได้นั้น มีน้อยรูปลง ไม่พอจะผลัดเปลี่ยนกัน พระครูราชสังวร (พิศ อายุวฑฺฒโก) ผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดชนะสงครามในครั้งนั้น จึงได้มีหนังสือถึงกรมการศาสนา ขอลดวันสวดลงมา เหลือสวดเฉพาะวันธรรมสวนะเท่านั้น พิธีเริ่มแต่เวลา 13 นาฬิกา พระสงฆ์ 4 รูปพร้อมด้วยพระครูปริตรผู้เป็นประธาน 1 รูป สวดพระปริตรอย่างภาษารามัญที่หอศาสตราคม เมื่อเสร็จราว 14 นาฬิกา มีเจ้าหน้าที่ถือบาตรน้ำมนต์นำพระ 2 รูป ไปประพรมน้ำพระพุทธมนต์รอบหมู่พระมหามณเฑียรเป็นเสร็จพิธี ในการสวดพระปริตรามัญที่หอศาสตราคม ในชั้นเดิม มีการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันระหว่างพระครูปริตทั้ง 4 รูป ในการไปสวดแต่ละวันโดยแบ่งกันรับผิดชอบตามวัน-เวลา ดังนี้

1. พระครูราชสังวร รับผิดชอบวันธรรมสวนะขึ้น 8 ค่ำ
2. พระครูสุนทรวิลาส รับผิดชอบรวันธรรมสวนะขึ้น 15 ค่ำ
3. พระครูราชปริต รับผิดชอบวันธรรมสวนะแรม 8 ค่ำ
4. พระครูสิทธิเตชะ รับผิดชอบวันธรรมสวนะแรม 15 ค่ำ

โดยที่พระครูปริตทั้ง 4 รูป จะทำหน้าที่เป็นประธานในการสวดแต่ละครั้ง ซึ่งจะมีพระมอญอีก 4 รูปมาสวดร่วมด้วย รวมเป็นสวด 5 รูปในแต่ละวัน


ปัจจุบัน พระสงฆ์มอญมีจำนวนลดน้อยลงโดยลำดับ เช่นเดียวกับพระสงฆ์ไทย สืบเนื่องจากสาเหตุหลายประการ แม้แต่ในวัดชนะสงคราม ซึ่งเป็นพระอารามหลวงที่พระสงฆ์มอญ มีบทบาทโดยตรงกับราชประเพณีสำคัญดังกล่าว ก็กำลังประสบสภาพการณ์เช่นเดียวกัน

ลำดับเจ้าอาวาส
1. พระมหาสุเมธาจารย์ พ.ศ. 2325-2363
2. พระสุเมธาจารย์ 2363-2383
3. หม่อมเจ้าพระสีลวราลังการ (ม.จ.สอน) พ.ศ. 2383-2410
4. พระสุเมธาจารย์ (ศรี ป.ธ.5) พ.ศ. 2410-2455
5. พระประสิทธิศีลคุณ (พุธ) พ.ศ. 2455-2456
6. พระครูภาวนาพิจารณ์ (ลืม) รักษาการ พ.ศ. 2457-2459
7. พระพิศาลสมณกิจ (ริด ป.ธ.๖) พ.ศ. 2459 (๑ เดือน ภายหลังโดนถอด)
8. พระสุเมธมุนี (ลับ สงฺกิจโจ ป.ธ.3) พ.ศ. 2460-2485
9. พระธรรมทัศนาธร (ทองสุก สุทัสโส ป.ธ.8) พ.ศ. 2492-2508
10. สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสรมหาเถร ป.ธ.9) พ.ศ. 2509-11 มีนาคม พ.ศ. 2554(ถึงแก่มรณภาพ)

ขอบคุณข้อมูลจาก วิกีพีเดีย

อยากให้ลองไปค้นบทความ หรือพงศาวดาร หรือจดหมายเหตุ มาอ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับสงคราม ๙ ทัพ สงครามครั้งสำคัญ ที่สร้างไทยให้เป็นไทยอยู่ทุกวันนี้ และคงยังไม่สายเกินไปที่จะนำกล่าวถึงในโอกาสนี้ และจะเป็นที่มาของการสร้างพระพิมพ์ของวัดชนะสงคราม ภาพพระพิมพ์ที่แสดงไว้ใน post ที่ 50732 เป็น ๑ จำนวนนั้นเท่านั้น วันนี้ผมนำพิมพ์ที่ ๒ มาให้ชมกัน การได้อ่านเรื่องราวของสงคราม ๙ ทัพนี้ จะรู้สึกถึงความสำคัญ และหวงแหนพระพิมพ์นี้ เนื่องจากพระพิมพ์นี้เรียกว่า "พระพิมพ์เล็บช้าง" ได้จัดสร้างขึ้นในโอกาสฉลองชัยสงคราม ๙ ทัพ การจัดสร้างอยู่ในช่วงปีพ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๖๓ โดยสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาท พระมหาอุปราชวังหน้า รัชกาลที่ ๑ นั่นเอง ซึ่งก็คือช่วงเวลาที่พระมหาสุเมธาจารย์ เป็นเจ้าอาวาสวัดชนะสงคราม


ความเห็นตัวผมเอง คิดว่า น่าจะเป็นปีพ.ศ.๒๓๓๐ เมื่อคราวเสร็จศึกที่นครลำปางป่าซางนั่นเอง เช่นนั้น อายุพระพิมพ์จึงมีอายุ ๒๒๕ ปี (คำนวณที่ปีพ.ศ.๒๓๓๐-๒๕๕๕)

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้

คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
ประวัติวังหน้า
พระราชวังบวรสถานมงคล

“วังหน้า” ที่ปรากฏในยุครัตนโกสินทร์นี้ เริ่มตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อพุทธศักราช 2325 และได้ยกเลิกตำแหน่งนี้เมื่อ “วังหน้า” พระองค์สุดท้ายคือกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทิวงคต เมื่อพุทธศักราช 2428 ในสมัยรัชกาลที่ 5 รวมเวลาที่มีตำแหน่ง “วังหน้า” ในสมัยรัตนโกสินทร์ 103 ปี

     วังหน้า เป็นชื่อที่สามัญชนชอบ ใช้เรียกพระมหาอุปราช ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีขึ้นครั้งแรกในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยตราพระราชกำหนดศักดินาพลเรือนขึ้น เมื่อพุทธศักราช 2009 ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้เปลี่ยนนามวังที่ประทับของพระมหาอุปราชให้สูงขึ้นเสมอพระราชวังหลวง เรียกว่า พระราชวังบวรสถานมงคล เหตุที่สามัญชนเรียก พระราชวังบวรสถานมงคลว่า วังหน้า อธิบาย ได้ 3 ประการดังนี้ ประการที่ 1 หมายถึงวังที่ตั้งอยู่ข้างหน้าของพระราชวังหลวง สมัยอยุธยา ครั้งเมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงเป็นพระมหาอุปราช ประกาศอิสรภาพพ้นการเป็นเมืองขึ้นของพม่าแล้ว เสด็จมาประทับในพระนครศรีอยุธยา ทรงสร้างพระราชวังขึ้นใหม่ทางด้านหน้าของพระราชวังหลวง จึงถูกกำหนดให้เป็นที่ตั้งวังที่ประทับของพระมหาอุปราช ประการที่ 2 ลักษณะการจัดขบวนทัพออกรบ ทัพของพระมหาอุปราชจะยกออกเป็นทัพหน้า เรียกว่าฝ่ายหน้า และเรียกวังที่ประทับของแม่ทัพว่า วังฝ่ายหน้า และย่อเป็นวังหน้าในที่สุด ประการสุดท้าย วังหน้าจะปรากฏเรียกเฉพาะในเวลาที่บ้านเมืองมีพระมหาอุปราชเท่านั้น สมัยธนบุรี ไม่มีตำแหน่ง พระมหาอุปราช จึงไม่ปรากฏว่ามี วังหน้าในสมัยนั้น

วังหน้า ระหว่าง ปี พ.ศ. 2325-2346

     เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อพุทธศักราช 2325 โปรดให้พระยาจิตรเสวี และพระยาธรรมธิกรณ์ เป็นแม่กองย้ายชุมชนชาวจีนไปอยู่บริเวณวัดสามปลื้มและวัดสามเพ็ง เพื่อใช้ที่ดินริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านทิศใต้จากวัดโพธาราม (วัดพระเชตุพน) จรดวัดสลัก (วัดมหาธาตุ) ในการสร้างพระบรมหาราชวัง (วังหลวง) และโปรดให้สมเด็จพระอนุชาธิราช ซึ่งดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราชยาติกรรมที่ดินบางส่วนของวัดสลักไปทางเหนือจรดคลองโรงไหม (บริเวณเชิงสะพานพระปิ่นเกล้าฝั่งพระนคร) เพื่อสร้างเป็นพระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์ทรงเป็นพระมหาอุปราชที่มีความสามารถในการรบเป็นอย่างยิ่งเป็นที่เลื่องลือ ในบรรดานักรบต่างชาติ เช่น พม่า ในนามของพระยาสุรสีห์ หรือพระยาเสือ ทรงดำรงพระยศเป็นพระมหาอุปราช เป็นเวลา 21 ปี เสด็จสวรรคตเมื่อพุทธศักราช 2346 ในสมัยของพระองค์พื้นที่วังหน้าด้านเหนือติดกับคลองคูเมือง เป็นสำนักชี เรียกกันว่า วัดหลวงชี เพราะเป็นที่จำศีลของ นักชี มารดาของนักองค์อี ซึ่งเป็นพระชายา ปัจจุบันพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ตั้งของวิทยาลัยนาฎศิลป

วังหน้า ระหว่างปี พ.ศ. 2349-2360

     หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท สวรรคต ตำแหน่งพระมหาอุปราช ว่างลงเป็นเวลา 3 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงแต่งตั้ง พระโอรส คือ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เป็นพระมหาอุปราช แต่ทรงประทับที่พระราชวังเดิม (ที่ทำการกองเรือยุทธการในปัจจุบัน) ทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราช 3 ปี พุทธศักราช 2352 เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ที่ 2 ของสมัยรัตนโกสินทร์ ได้ทรงสถาปนาพระอนุชาธิราชให้ดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช ทรงพระนาม กรมพระราชวังบวรเสนานุรักษ์ พระองค์ได้ช่วยสมเด็จพระเชษฐาปฏิบัติราชการอย่างเข้มแข็ง ทั้งนี้เพราะพระเชษฐา คือพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นกวีและศิลปิน พระองค์สนพระทัยในเรื่องศิลปะ วรรณคดีและนาฎศิลป์เป็นอันมาก ฉะนั้น พระอนุชาจึงต้องช่วยแบ่งภาระในการบริหารราชการไปเป็นส่วนมาก ทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราชเป็นเวลา 8 ปี เสด็จสวรรคตเมื่อพุทธศักราช 2360 ตำแหน่งพระมหาอุปราชว่างลงจนสิ้นรัชกาล

วังหน้า ระหว่างปี พ.ศ. 2367-2375

     เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อพุทธศักราช 2367 โปรดให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นมหาศักดิ์พลเสพ ดำรงพระยศพระมหาอุปราช พระองค์เป็นพระโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ โปรดให้มีการรื้อและสร้างอาคารต่าง ๆ ภายในพระราชวังบวรฯอย่างมาก โปรดให้สร้างวัดบวรสถานสุทธาวาส หรือวัดพระแก้ววังหน้าขึ้น ตรงบริเวณที่เคยเป็นสำนักชีเมื่อครั้งสมัยกรมพระราชวังบวรพระองค์แรก และรื้ออกทำเป็นสวนกระต่ายเมื่อสมัยกรมพระราชวังบวรเสนานุรักษ์ ปัจจุบันโบราณสถานแห่งนี้ยังตั้งเด่นเป็นสง่าแก่วิทยาลัยนาฎศิลป พระองค์ทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราชเป็นเวลา 8 ปี เสด็จสวรรคตในปีพุทธศักราช 2375 จากนั้นตำแหน่งพระมหาอุปราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ว่างลงเป็นเวลา 18 ปี

วังหน้า ระหว่างปี พ.ศ. 2394-2408

     พุทธศักราช 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เสด็จขึ้นครองราชย์ ได้ทรงแต่งตั้งพระอนุชา เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ เป็นพระมหาอุปราช และให้มีพระเกียรติยศเทียบเท่าพระเจ้าแผ่นดิน พระราชทานบวรราชาภิเษกเป็น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ชาวต่างประเทศเรียกว่า พระเจ้าแผ่นดินองค์ที่สอง พระองค์สนพระทัย เรื่องปืน การสร้างเรือกลไฟ เรือรบ โปรดการทหาร การกีฬาดนตรี ตลอดจนการศึกษาภาษาอังกฤษ โปรดขนบธรรมเนียมและความเป็นอยู่อย่างชาวตะวันตก ทรงปฏิสังขรณ์ต่อเติมและสร้างพระราชมณเฑียรใหม่ สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นอีกประการหนึ่งคือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดให้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ จากพระอุโบสถวัดพระแก้ว วังหลวง กลับมาไว้ที่วังหน้าดังเดิม (ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่พระที่นั่งพุทไธศวรรย์ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ) โปรดให้ช่างวาดจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับตำนานพระพุทธสิหิงค์ และประวัติอดีตพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ไว้ที่ผนังในพระอุโบสถและพระราชทานนามว่า วัดบวรสถานสุทธาวาส สมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ทรงดำรงราชสมบัติเป็นเวลา 15 ปี เสด็จสวรรคตเมื่อพุทธศักราช 2408 ตำแหน่งพระมหาอุปราชว่างลงอีกครั้งเป็นเวลา 3 ปี

วังหน้า ระหว่างปี พ.ศ. 2411-2428

     พุทธศักราช 2411 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เสด็จขึ้นครองราชย์ คณะเสนาบดี และพระบรมวงศานุวงศ์ได้อัญเชิญ กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ดำรงพระยศพระมหาอุปราช ทรงมีคุณานูปการต่องานช่างทุกแขนง ทรงอุปถัมภ์ช่างฝีมือเอกรวบรวมไว้ในวังหน้า ฝีมือช่างวังหน้าจึงเป็นฝีมือชั้นสูงในงานศิลปะหลายแขนง จนได้รับการยกย่องเป็นแบบอย่าง พระองค์ทรงดำรงพระยศเป็นเวลา 17 ปี เสด็จทิวงคตในปีพุทธศักราช 2428 เป็นวังหน้าองค์สุดท้ายของประเทศไทย

     วันที่ 4 กันยายน 2428 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ โปรดให้ประกาศพระราชกฤษฎีกายกเลิกตำแหน่งพระมหาอุปราช และโปรดให้จัดเขตวังหน้าขึ้น นอกริมน้ำด้านตะวันตกเป็นโรงทหารรักษาพระองค์ ขยายเขตวังชั้นนอกด้านทิศตะวันออกเป็นท้องสนามหลวง หลังจากเสด็จกลับจากประพาสยุโรป พุทธศักราช 2440 โปรดให้ขยายส่วนของสนามหลวงขึ้นไปทางเหนือรวมทั้งรื้อป้อม และอาคารที่ชำรุดทรุดโทรม รอบ ๆ วัดบวรสถานสุทธาวาสลง คงเหลือแต่ตัวพระอุโบสถไว้ และโปรดให้ใช้พระอุโบสถเป็นพระเมรุพิมานสำหรับประดิษฐานพระบรมศพ เวลาสมโภช และทรงบำเพ็ญพระราชกุศลแทนพระเมรุใหญ่ท้องสนามหลวง และปลูกพระเมรุน้อยที่พระราชทานเพลิงต่อออกไปทางด้านเหนือ เมื่อเจ้านายวังหน้าสิ้นพระชนม์เหลืออยู่น้อยพระองค์ จึงโปรดให้เสด็จไปอยู่ในพระราชวังหลวง ส่วนพื้นที่วังหน้านอกจากบริเวณพิพิธภัณฑ์สถานนั้น โปรดให้กระทรวงกลาโหมดูแลรักษาต่อมา

     พุทธศักราช 2475 ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลกำหนดการศึกษาของชาติให้คนไทยมีสิทธิขั้นพื้นฐานให้ ได้รับการศึกษา อันจะนำมาซึ่งความมั่นคงของชาติสืบไป พระบรมราชวังของสมเด็จกรมพระราชวังบวรสถานทั้ง 5 พระองค์ ได้ใช้เป็นสถาบันการศึกษา และสถานที่ราชการ คือ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงละครแห่งชาติ และวิทยาลัยนาฎศิลป ซึ่งล้วนเป็นสถาบันที่บ่งบอกความเป็นอารยะของชาติ

(อรนุช ทัดติ 2541:5)

อรนุช ทัดติ. “ประวัติวังหน้า.” วารสารวังหน้า. 1,1 (ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2541):5.

-http://www.thaifolk.com/doc/wangnan.htm-


.

http://www.thaifolk.com/doc/wangnan.htm

.

คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
.

อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ santisayan
นี่ก็อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัด ทั้งๆที่เป็นพระเก่า สวยงามทั้งด้านหน้า ด้านหลัง มีพลังเหลือล้น แต่คนขายพระกิน ไม่นิยม(เพราะว่าไม่มีในครอบครอง)ไม่ต้องให้ใครมารับรอง มาเช็คพลัง คุณค่าที่มีอยู่ในองค์ท่านนั้นเป็นสิ่งที่รับรององค์ท่านเอง นี่ก็เป็นเรื่องของต่างมองต่างมุม ความไม่รู้ ความเชื่อ(ที่ได้ฟังต่อๆๆมา)ปัญญาที่ไม่ได้เกิดจากการรู้จริง เห็นจริง ห รือเกิดจากการวิเคราะห์ ด้วยเหตุ ผล จืงต้องนำมาลงให้ดูกันอีกครั้ง(ตามคำขู่) เนื่อง จากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆ ฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้ อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้


อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร:::
เรื่องของรูป และนาม ผมจะไม่พยายามพูดบ่อยจนกลายเป็นเฝือ และที่สำคัญเป็นการกล่าวอ้างอิงบุคคลผู้อื่นขึ้นมา อันนี้ผมจะไม่แตะต้อง เพราะเป็นความเชื่อ ความศรัทธาของบุคคล เป็นอจินไตยของผู้คนที่ศรัทธายึดมั่นในองค์ครู องค์อาจารย์กัน ไม่เช่นนั้นจะหาความสงบไม่ได้ และจะเป็นเหตุให้ต้องกล่าวละเมิดความเชื่อส่วนบุคคลกันในเรื่องของบุคคลที่ ตนเคารพนับถือ เป็นชนวนความขัดแย้ง หากเรา"รู้เท่าทันถึงเหตุ" เราสู้ระงับเหตุไม่ดีกว่าหรือครับ...

การกล่าวอ้างอิง แต่ตนเองยังไม่สามารถทำฌานได้ และมีญาณหยั่งรู้ด้วยอตีตังสญาณ อนาคตังสญาณ โดยเฉพาะปัจจุปปันญาณ เราก็จะได้ชื่อว่า ฟังเขาเล่ามาอีกที ไม่ต่างจากการทำหน้าที่ของบุรุษไปรษณีย์ หรือ พนักงานรับส่งเอกสารตามสำนักงาน หรือวินมอเตอร์ไซด์รับส่งผู้โดยสารตามซอยลึกต่างๆ และตัวเองก็ไม่สามารถเปิดอ่านจดหมาย หรือข้อความนั้นได้ นั่นคือ ไม่สามารถต่อเข้าไปให้ถึงญาณ และฌานนั้นได้เฉกเช่นกัน

ผมเคย post เอาไว้นานมากแล้วว่า มีหลายเรื่องที่เราสงสัย และอยากทราบ แต่เมื่อค้นคว้าลึกเข้าไปๆ กลับเกิดความรู้สึกว่า ไม่อยากเผยแพร่ความรู้นั้น ทางหนึ่งเพื่อให้ผู้สนใจปมปัญหานี้ได้ลองค้นคว้าเองบ้าง เพื่อให้เข้าใจถึงแก่นแท้ของเรื่องราวนั้นๆได้เอง เพื่อความเข้าใจแบบ"ปัญญาญาณ" ที่ไม่ใช่ลักษณะของการจดจำ ท่องจำ หรือฟังมาบอกต่ออีกต่อไป ผมไม่นิยมการตลาดแบบเครือข่ายที่เน้นยอดเน้นเป้าครับ ของดีต้องว่า ดี ของแย่จะบอกว่า ดี เป็นไปไม่ได้ เมื่อถึงจุดๆหนึ่ง ไอ้ความอยากรู้ อยากถ่ายทอด อยากบอกต่อในเรื่องราวนั้นๆ มันไม่มีแล้วครับ ปล่อยให้เป็นเรื่องของวาสนา ความพยายาม บำเพ็ญวิริยบารมี ความใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษานำพาไปดีกว่าครับ หากหยิบยื่นให้กันง่ายๆ แบบserve ถึงข้างเตียง เขาจะสามารถบำเพ็ญวิริยะบารมีได้อย่างไร การให้ก็ต้องให้เพื่อให้เขาออกไปจับปลาเองได้ จะจับผิด จับถูก จับไม่ได้มากบ้างในครั้งแรกๆ ก็เป็นเรื่องธรรมดา เป็นธรรมชาติของการบำเพ็ญวิริยบารมี ผมไม่เห็นว่า มันจะเป็นเรื่องที่ไม่จริงใจต่อกันตรงไหน

ดังนั้นเรื่องของการตรวจทาง "นาม" จะต้องทำได้ด้วยตนเอง เฉกเช่นเดียวกับการตรวจทาง "รูป" แต่เมื่อผ่านสภาวธรรมที่เหมาะกับตนเองแล้ว จะไม่เห็นทั้ง "รูป และนาม" เพราะแต่เดิมทีจิตดั้งเดิม ไม่มีรูป ไม่มีนามแต่แรกแล้วนั่นเอง แต่ที่มัน"มี" เพราะเราไปยึดว่า มันมี...

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้

::::เพชร::

อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ santisayan
นี่เป็นด้านหลังของรูปที่แล้ว ไม่ ต้องกลัวว่าจะโหลดไปปลอมเพราะปลอมมาแล้ว ไม่เหมือน เรื่องปลอมพระวังหน้านี้มีมานานแล้วทั้งๆรู้ว่าปลอมก็ยังไปเช่ามา การปลอมเค้ารู้ว่าจับพลังกัน เค้าก็ให้แบบเต็มๆๆโดยการจัดใหญ่จัดให้จัดหนัก เมื่อคนที่ไม่ศึกษาเรื่องเนื้อว่าเก่าจริงหรือไม่ ไม่มีความรู้ ไม่มีตัวอย่าง ไม่มีความคิดที่เป็นจริง มันก็เข้าทางคนปลอมพระขาย แหล่งใหญ่ที่ขายก็รู้ แต่ก็ยังเดินไปหาเค้าเอง แล้วโทษใคร อีกหน่อยก็คงโทษครูอาจารย์ที่ไม่บอก ไม่ได้มองที่ตัวเอง ไม่ได้คิด ไม่มีแนวทางที่เป็นไปได้ เมื่อไม่มีครูอาจารย์แล้ว จะทำอะไรเป็นไหม? อะไรถูกหรือผิด จะถามใคร ใบ้กิน พระเครื่องนี่ก็เป็นวิทยาศาสตร์ ต้องพิสูตร์ได้ ไม่ต้องมาสาบานแบบเด็กๆๆว่าจริงหรือไม่ ใช่หรือไม่ ที่สำคัญ ว่าเคยเห็นของแท้บ้างไหม? เห็นแต่ของปลอมมาตลอดก็เลยไม่รู้ว่ามีหรือไม่เนื่อง จากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆ ฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้ อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้


อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร:::
หุ...หุ..ลุงๆ ที่เห็นจะๆเลยคือ "คำพูดของผม" กำลังโดนปลอม โดน copy มาทั้งแท่ง ท่านใดแยกออกว่า คำพูดผม หรือ คำพูดลุงไฟดูดเป็นของจริง...

อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ santisayan
ก็ไม่ได้""สงวนสิทธิ์""ไว้นี่ ต้องโดนปลอม กลัวปลอมหรือไม่

อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร:::
พิมพ์ปิดตาวังหน้า หรือพิมพ์อธิษฐานฤทธิ์ ลองพิจารณากันครับ ลักษณะของพระกร และฝ่าพระหัตถ์ที่ยกขึ้นหากเป็นปิดตา ออกจากผิดสัดส่วนธรรมชาติการยกพระกร พระหัตถ์ขึ้นในระดับนั้นไปบ้าง หากเป็นอธิษฐานฤทธิ์ก็สมสัดส่วนมากกว่า รอบๆเป็นอักขระเลขยันต์ ไม่ใช่ปรกโพอย่างแน่นอน ลุงหนุ่มน้อย ลุงไฟดูด ลุงอ.กูรูน้องนู๋มาช่วยกันพิจารณาดูหน่อย พิมพ์นี้ผมไปพบแถบท่าน้ำนนท์ ๒ องค์ สีแดง และสีดำวางคู่กัน องค์ละร้อย คนขายไม่ทราบสำนัก

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้


-http://board.palungjit.com/f179/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%81-%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-22445-2537.html-

http://board.palungjit.com/f179/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%81-%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-22445-2537.html
.

คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร:::
เป็นความบังเอิญหรือไม่ ก็ลองพิจารณาดูครับ ยุคนี้คือยุคเผยแพร่ ผมขอแก้ไขข้อมูลของ post ที่ 50732 ที่ระบุว่า พระปิดตาวังหน้า หรือพิมพ์อธิษฐานฤทธิ์ คงต้องรอให้ลุงๆทั้ง ๓ มาช่วยกันชี้แนะอีกทีเกี่ยวกับลักษณะพระพิมพ์ครับ

ที่ผมบอกว่าแก้ไขคือ ประเด็นเรื่องวังหน้า วัดชนะสงคราม มีความรู้สึกว่าแยกกันไม่ออก ลองอ่านเรื่องราวต่อไปนี้ก่อนนะครับ..

จากแยกบางลำพู เลี้ยวมายังป้อมพระสุเมรุไปตามถนนพระอาทิตย์ วกกลับย้อนขึ้นมาเลียบเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า กลับมายังย่านบางลำพูหน้าวัดชนะสงคราม ราชวรมหาวิหาร เป็นย่านเก่าแก่ยาวนานมาตั้งแต่ยุคก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์

การนำเสนอภาพชุมชนแห่งนี้ให้ชัดเจนที่สุด ต้องกล่าวถึงองค์ประกอบสำคัญ 3 ส่วนคือ ๑. วัดชนะสงคราม ๒. ชุมชนดั้งเดิมที่เป็นชาวมอญ และ ๓. เจ้าวังหน้า

เรื่องราวในอดีตย้อนลงไปกว่า ๒๐๐ ปีของชุมชนแห่งนี้ สามารถเชื่อมโยงร้อยเรียงเพื่อนำมาอธิบายภาพที่ปรากฏเป็นชุมชนพระอาทิตย์ใน ปัจจุบันได้อย่างไม่ขาดตอน เพราะทุกอย่างล้วนมีที่มาที่ไปสืบทอดต่อเนื่องกัน

ยุคต้นรัตนโกสินทร์ - - ที่ดินบริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาตรงถนนพระอาทิตย์ตั้งแต่ปากคลองบางลำพู ตรงข้างวัดสังเวชฯ จนถึงบริเวณท่าช้างวังหน้า (ใต้สะพานพระปิ่นเกล้า) เป็นที่ตั้งของชุมชนชาวมอญที่เข้ามาสวามิภักดิ์แหล่งใหญ่แห่งหนึ่ง หัวหน้าชุมชนรับราชการเป็น เจ้ามหาโยธา (ทอเรียะ) ต้นตระกูล คชเสนี โดยมีจุดศูนย์รวมจิตใจอยู่ที่ วัดตองปุ อัน เป็นวัดเก่ามีมาก่อนตั้งกรุงฯ ต่อมาพระราชทานนามว่า วัดตองปุ และตั้งสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายรามัญมาดูแล เพื่อให้เหมือนกับวัดของชุมชนมอญอาสาครั้งกรุงเก่าฯ

ละแวกดังกล่าวอยู่ใกล้เขตพระราชฐานของกรมพระราชวังบวรฯ หรือ วังหน้า ... ครั้งเมื่อ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ชนะศึกสงครามเก้าทัพ เสด็จมาทำพิธีสรงน้ำและเปลี่ยนเครื่องทรงตามพระราชพิธีโบราณที่วัดตองปุก่อน เสด็จเข้าพระบรมมหาราชวัง จึงทรงโปรดฯ ให้บูรณะพระอารามใหม่เมื่อปี ๒๓๓๐ จากนั้นรัชกาลที่ ๑ ได้ทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดชนะสงคราม” อย่างไรก็ตาม ชาวบ้านยังคงเรียกชื่อ วัดตองปุเรื่อยมาจนถึงประมาณสมัยรัชกาลที่ ๕

เจ้ามหาโยธา ทอเรียะ มีบุตรรับราชการสืบต่อ นามว่า พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย) มีธิดาถวายตัวเป็นพระสนมเอกในรัชกาลที่ ๔ ชื่อว่า เจ้าจอมมารดากลิ่น ซึ่งให้ประสูติพระราชโอรส ทรงพระนามว่า “พระองค์เจ้าชายกฤษดาภินิหาร” ซึ่งต่อมาได้รับสถาปนาเป็น “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์”

ตระกูล คชเสนี จึงถวายที่ดินบริเวณถนนพระอาทิตย์เพื่อเป็นวังที่ประทับของพระองค์เจ้าชายกฤษดาภินิหาร ปัจจุบันคือ 'บ้านมะลิวัลย์' ที่ตั้งของสำนักงาน องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ไม่ไกลนักกับบ้านพระอาทิตย์

ด้วยทำเลที่ตั้งและความเป็นมาเกี่ยวข้องกับชุมชนมอญ วัดชนะสงคราม จึงเกี่ยวข้องกับเจ้านายวังหน้า – ชุมชนมอญพระอาทิตย์มาตั้งแต่ต้น

ในสมัยรัชกาลที่ ๒ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ (วังหน้า) ทรงนำไม้ที่รื้อพระพิมานดุสิตา ซึ่งเคยเป็นหอพระสร้างเสนาสนะถวาย จนมาถึงการบูรณะใหญ่อีกครั้งสมัยรัชกาลที่ ๖ พระศรีพัชรินทรา ฯ พระพันปีหลวง ทรงมอบหมายให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (หลานทวดของพระมหาโยธา ทอเรียะ ซึ่งมีวังอยู่ใกล้กับวัด ) บูรณะจนเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๗

รัตนโกสินทร์ยุคกลางถึงยุคปัจจุบัน - - ละแวกถนนพระอาทิตย์และวัดชนะสงคราม เป็นเขตพระราชฐานของวังหน้า จึงเป็นธรรมเนียมที่ “เจ้านายวังหน้า” ได้พระราชทานที่ดินเพื่อสร้างวัง หรือ ตำหนักประทับ ต่อเนื่องกันมาในแต่ละรัชกาล

โรงเรียนการข่าวทหารบกปัจจุบัน เคยเป็นวังของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ วังหน้าในรัชกาลที่ ๕ ลึกเข้าไปในตรอกโรงไหม เคยเป็นที่ตั้ง วังของพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์ พระโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

บ้านเจ้าพระยา ที่ทำการของ เอเอสทีวี. เดิมเป็นวังของ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวรัตน์ กรมหมื่นสถิตยธำรงสวัสดิ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (วังหน้า) ต่อมาสมัยรัชกาลที่ ๖ พระราชทานที่ดินและอาคารแก่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ พระบิดาของ ม.ร.ว.เสนีย์-คึกฤทธิ์ ปราโมช

ส่วน บ้านพระอาทิตย์ นั้น เดิมเป็นบ้านของ เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์(ม.ร.ว เย็น อิศรเสนา) เจ้านายผู้สืบเชื้อสายมาจากพระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศร์ พระโอรสใน สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์-วังหน้าในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยได้สร้างขึ้นใหม่แทนวังเดิมที่ทรุดโทรมลงเมื่อพ.ศ.๒๔๗๕

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ มีความสัมพันธ์สืบเนื่องกับชุมชนมอญพระอาทิตย์-วัดชนะสงคราม อย่างแนบแน่น บิดาของท่านคือ ม.จ.เสาวรส อิศรเสนา สมรสกับ หม่อมมุหน่าย อิศรเสนา เชื้อสายมอญชุมชนพระอาทิตย์ เมื่อยังเด็ก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ ไปเรียนหนังสือกับหลวงตา (บิดาของหม่อมมุหน่าย) ซึ่งบวชจำพรรษาอยู่ที่วัดชนะสงคราม

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ เจ้าของบ้านพระอาทิตย์ จึงมีสายใยผูกพันกับชุมชนมอญ และ วัดชนะสงคราม อย่างแยกไม่ออก

ข้อมูลจาก http://www.manager.co.th/politics/vi...=9500000129353

และประวัติของวัดชนะสงคราม ให้ดูว่า มีความเกี่ยวพันกับวังหน้า ร.๑ กันยังไง

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่า วัดกลางนา

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี มีพระราชประสงค์ที่จะสร้างสิ่งก่อสร้างขึ้นให้คล้ายคลึงกับกรุงศรีอยุธยามากที่สุด วัดที่ตั้งอยู่ใกล้พระบรมมหาราชวังได้ทรงปฏิสังขรณ์ใหม่ ตลอดจนเปลี่ยนชื่อวัดให้เหมาะสม โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อวัดกลางนาเป็นวัดตองปุ และให้เป็นวัดพระสงฆ์ฝ่ายรามัญ เช่นเดียวกับวัดตองปุที่กรุงศรีอยุธยา เพื่อเทิดเกียรติทหารชาวรามัญในกองทัพสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการต่อสู้กับพม่าในสงครามเก้าทัพ เมื่อ พ.ศ. 2328 สงครามที่ท่าดินแดง และสามสบ เมื่อ พ.ศ. 2329 และสงครามที่นครลำปางป่าซาง เมื่อ พ.ศ. 2330

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดตองปุแล้วถวายเป็น พระอารามหลวงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า วัดชนะสงคราม เพื่อเป็นอนุสรณ์ที่สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ทรงมีชัยชนะต่อพม่าในการรบทั้ง 3 ครั้ง

วัดชนะสงครามได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ทรงเริ่มดำเนินการก่อสร้างที่บรรจุพระอัฐิเจ้านายฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคลที่เฉลียงพระอุโบสถด้านหลังตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวงทรงพระราชอุทิศพระราชทรัพย์ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ดำเนินการ แต่การก่อสร้างมาแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งพระราชทานพระราชทรัพย์ให้ราชบัณฑิตยสภาดำเนินการก่อสร้าง ขณะนั้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นนายกราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงดำเนินการก่อสร้างจนเสร็จสิ้น ได้มีพิธีอัญเชิญพระอัฐิจากพระราชวังบวรสถานมงคลไปประดิษฐานใน พ.ศ. 2470

เรื่องสำคัญออีกเรื่องที่ผมกล่าวว่า แยกกันไม่ออกระหว่าวังหน้า และวัดชนะสงคราม และอีกประการคือ พระสงฆ์มอญ ลองตามอีกนิดครับ ใกล้จะขมวดปมแล้วครับ...

พระปริตรามัญ
โบราณประเพณีเก่าแก่ของไทยประการหนึ่ง ที่มีความสำคัญ และมีความหมายยิ่ง ต่อองค์พระมหากษัตริย์โดยตรง หากแต่ไม่ค่อยได้มีผู้ใดรู้จักเท่าใดนัก เนื่องจากเป็นพิธีที่ปฏิบัติกัน เฉพาะในหอศาสตราคม พระบรมมหาราชวัง และเป็นพิธีที่จัดทำขึ้นเฉพาะส่วนพระองค์เท่านั้น พิธีนี้มีความหมายอย่างยิ่งต่อพระราชกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากเป็นพิธีที่สวดเพื่อทำน้ำพระพุทธมนต์ทูล เกล้า ฯ ถวาย ส่วนหนึ่งสำหรับจัดเป็นน้ำสรงพระพักตร์ และน้ำโสรจสรง อีกส่วนหนึ่ง เพื่อประพรมพระที่นั่งองค์สำคัญ ในเขตพระราชฐานชั้นใน นอกจากนี้ พิธีดังกล่าว ยังมีลักษณะพิเศษอีกประการหนึ่งคือ จะนิมนต์เฉพาะพระสงฆ์มอญเข้า มาสวดบทสวดพระปริตรมอญเท่านั้น ความสำคัญของพิธีสวดพระปริตรรามัญ เพื่อทำน้ำพระพุทธมนต์ ในพระบรมมหาราชวังนั้น ปรากฏตามพระบรมราชาธิบาย ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า

"ในพระราชนิเวศน์เวียงวัง ของพระเจ้าแผ่นดินสยาม ตามแบบแผนบุรพประเพณีสืบมา พระสงฆ์รามัญ ได้สวดพระปริตรตามแบบอย่างข้างรามัญ ถวายน้ำพระพุทธมนต์และน้ำสรงพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าแผ่นดิน และเป็นน้ำสำหรับสรงพระพักตร์ ประพรมเป็นทักษิณาวัฏรอบ ขอบ ในจังหวัดพระราชมหามณเฑียรนี้ทุกวัน เป็นการพระราชพิธีมีสำหรับบรมราชตระกูลสืบมาแต่โบราณ พระสงฆ์อื่น ๆ แม้นมีฐานันดรยศปรากฏด้วยเกียรติคุณ คือ เรียนรู้พระคัมภีร์ที่เป็นพระราชาคณะเปรียญ หรือที่เป็นอาจารย์บอกภาวนาวิธี หรือพระสงฆ์ที่รู้ประกอบวิทยามนต์ดล เป็นที่นับถือของคนเป็นอันมากก็ดี ก็ไม่มีราชบัญญัติ ที่จะได้รับวาระผลัดเปลี่ยนมาสวดพระปริตรถวายน้ำพระพุทธมนต์เลย เหตุอันนี้ได้ทรงพระราชดำริว่า ชะรอยจะมีเหตุวิเศษอย่างหนึ่งแต่โบราณรัชกาล เป็นมหัศจรรย์อยู่อย่างไรแน่แท้ เพราะว่าปกติธรรมดาคนชาวภาษาใด ประเทศใด ก็ย่อมนับถือพระสงฆ์และแพทย์หมอต่าง ๆ ตามประเทศ ตามภาษาของตัว ในการสวดและการบุญต่าง ๆ แลการปริตรรักษาตนรักษาไข้ แต่การซึ่งมีนิยมเฉพาะให้พระสงฆ์รามัญพวกเดียว ประจำสวดปริตรอย่างรามัญ ในพระราชวังนี้ จะมีความยืนยันมา ในพระราชพงศาวดาร หรือจดหมายเหตุการต่อมาเป็นแน่นอนก็ไม่มี ”

อนึ่ง เมื่อมีการเสด็จพระราชดำเนินประทับแรมราตรี ณ ตำบลใดเป็นทางไกล คือเสด็จไปการสงคราม หรือแทรกโพนช้างใน แผ่นดินก่อน ๆ พระสงฆ์รามัญสวดพระปริตรนี้ ก็ต้องตามเสด็จพระราชดำเนินด้วยทุกครั้ง เมื่อครั้งแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเจ้า เสด็จไปประทับอยู่กรุงลพบุรี 8 เดือน ในฤดูแล้งทุกปี ก็ได้อาราธนาพระสงฆ์รามัญวัดตองปุให้ ตามเสด็จขึ้นไปตั้งอารามชื่อวัดตองปุ อยู่สวดพระปริตรถวายพระพุทธมนต์ทุกวัน อารามนั้นก็มีปรากฏจนทุกวันนี้ แลน้ำพระพุทธมนต์พระปริตรนี้ ย่อมเป็นที่เห็นว่ามีอำนาจป้องกันอุปัทวันตรายต่าง ๆ ได้จริง ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ดำรงสิริ รัตนราไชยสวริยาธิปัตย์ เถลิงถวัลยราช ณ กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์มหินทราอยุธยานี้ ก็ได้ทรงถือน้ำพระพุทธมนต์ประปริตรที่พระสงฆ์รามัญสวดถวายนั้น เป็นน้ำสรงพระพักตร์และน้ำสรงมาทุกพระองค์ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้นิพนธ์อธิบายเพิ่มเติม ถึงราชประเพณีดังกล่าวในหนังสือ "ตำนานพระปริต" โดยแสดงให้เห็นว่า แม้ปกติจะมีการแต่งตั้งตำแหน่งพระครูปริตไทย 4 รูป และพระครูปริตมอญ 4 รูป สำหรับสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ในงานพระราชพิธีโดยทั่วไปแล้วนั้น แต่สำหรับพิธีสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ที่หอศาสตราคม ในพระบรมมหาราชวังนั้นมีเฉพาะพระครูปริตมอญเท่านั้นเข้ามาสวดทุกวัน ดังความว่า

"แต่การสวดพระปริตทำน้ำพระพุทธมนตร์ ถือเป็นการสำคัญในราชประเพณีอย่างหนึ่ง มีตำแหน่งพระครูพระปริตไทย 4 รูป พระครูพระปริตมอญ 4 รูป สำหรับสวดทำน้ำพระพุทธมนตร์ ในบรรดางานพระราชพิธีซึ่งมีสรงมุรธาภิเษก พระราชาคณะไทยรูป 1 มอญรูป 1 กับพระครูพระปริต 8 รูปนั้นสวดทำน้ำพระพุทธมนตร์สำหรับสรงมุรธาภิเษกทุกงาน และโดยปกติพระครูพระปริตมอญต้องเข้ามาสวดทำน้ำพระพุทธมนตร์ที่หอศาสตราคม ทุกวัน น้ำมนตร์พระปริตนั้น ส่วนหนึ่งแบ่งส่งไปสำหรับเป็นน้ำสรงพระพักตร์และโสรจสรง อีกส่วนหนึ่งในบาตร 2 ใบให้สังฆการีถือตามพระครูพระปริต 2 รูป เข้าไปเดินประพรมด้วยกำหญ้าคาที่ในพระราชวังเวลาบ่าย 14 นาฬิกา ทุกวันเป็นนิตย์มาแต่โบราณ ”
เมื่อมีการสวดพระปริตรเป็นพิธีหลวง จึงได้ทรงแต่งตั้งพระครูพระปริตรประจำพระราชวัง สำหรับการสวดพระปริตร และสวดพระพุทธมนต์สำหรับทำน้ำมนต์ และสำหรับเสกทรายโดยเฉพาะ โดยมีพระสงฆ์ฝ่ายรามัญ 4 รูป ซึ่งแต่เดิมจำพรรษาอยู่ตามวัดต่าง ๆ ที่สังกัดอยู่ในคณะรามัญนิกาย เช่น วัดบวรมงคล วัดราชคฤห์ วัดชนะสงคราม เป็นต้น ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนแปลง เป็นพระสงฆ์มอญจากวัดชนะสงครามเพียงอารามเดียว ทั้งนี้สาเหตุอาจเนื่องมาจากการจัดเวรหมุนเวียนพระแต่ละแห่งเกิดความไม่ สะดวก หรือเป็นเพราะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีพระที่สวดพระปริตรรามัญหลบภัยสงครามไปอยู่ตามวัดในต่างจังหวัด จะเหลืออยู่ก็แต่ที่วัดชนะสงคราม จึงได้สวดวัดเดียวนับแต่นั้นมา
ตำแหน่งพระครูปริตรรามัญทั้ง 4 รูป ได้แก่

1. พระครูราชสังวร
2. พระครูสุนทรวิลา
3. พระครูราชปริต
4. พระครูสิทธิเตชะ
ตำแหน่ง พระครูปริตรามัญทั้งหมดนี้ ปัจจุบันประจำอยู่ที่วัดชนะสงคราม รับหน้าที่เข้าไปสวดพระปริตรทำน้ำพระพุทธมนต์ ในพระบรมมหาราชวังที่หอศาสตราคมเรื่อยมา จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2489 ปรากฏว่า พระสงฆ์ที่สามารถสวดพระปริตรามัญได้นั้น มีน้อยรูปลง ไม่พอจะผลัดเปลี่ยนกัน พระครูราชสังวร (พิศ อายุวฑฺฒโก) ผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดชนะสงครามในครั้งนั้น จึงได้มีหนังสือถึงกรมการศาสนา ขอลดวันสวดลงมา เหลือสวดเฉพาะวันธรรมสวนะเท่า นั้น พิธีเริ่มแต่เวลา 13 นาฬิกา พระสงฆ์ 4 รูปพร้อมด้วยพระครูปริตรผู้เป็นประธาน 1 รูป สวดพระปริตรอย่างภาษารามัญที่หอศาสตราคม เมื่อเสร็จราว 14 นาฬิกา มีเจ้าหน้าที่ถือบาตรน้ำมนต์นำพระ 2 รูป ไปประพรมน้ำพระพุทธมนต์รอบหมู่พระมหามณเฑียรเป็นเสร็จพิธี ในการสวดพระปริตรามัญที่หอศาสตราคม ในชั้นเดิม มีการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันระหว่างพระครูปริตทั้ง 4 รูป ในการไปสวดแต่ละวันโดยแบ่งกันรับผิดชอบตามวัน-เวลา ดังนี้

1. พระครูราชสังวร รับผิดชอบวันธรรมสวนะขึ้น 8 ค่ำ
2. พระครูสุนทรวิลาส รับผิดชอบรวันธรรมสวนะขึ้น 15 ค่ำ
3. พระครูราชปริต รับผิดชอบวันธรรมสวนะแรม 8 ค่ำ
4. พระครูสิทธิเตชะ รับผิดชอบวันธรรมสวนะแรม 15 ค่ำ

โดยที่พระครูปริตทั้ง 4 รูป จะทำหน้าที่เป็นประธานในการสวดแต่ละครั้ง ซึ่งจะมีพระมอญอีก 4 รูปมาสวดร่วมด้วย รวมเป็นสวด 5 รูปในแต่ละวัน


ปัจจุบัน พระสงฆ์มอญมีจำนวนลดน้อยลงโดยลำดับ เช่นเดียวกับพระสงฆ์ไทย สืบเนื่องจากสาเหตุหลายประการ แม้แต่ในวัดชนะสงคราม ซึ่งเป็นพระอารามหลวงที่พระสงฆ์มอญ มีบทบาทโดยตรงกับราชประเพณีสำคัญดังกล่าว ก็กำลังประสบสภาพการณ์เช่นเดียวกัน

ลำดับเจ้าอาวาส
1. พระมหาสุเมธาจารย์ พ.ศ. 2325-2363
2. พระสุเมธาจารย์ 2363-2383
3. หม่อมเจ้าพระสีลวราลังการ (ม.จ.สอน) พ.ศ. 2383-2410
4. พระสุเมธาจารย์ (ศรี ป.ธ.5) พ.ศ. 2410-2455
5. พระประสิทธิศีลคุณ (พุธ) พ.ศ. 2455-2456
6. พระครูภาวนาพิจารณ์ (ลืม) รักษาการ พ.ศ. 2457-2459
7. พระพิศาลสมณกิจ (ริด ป.ธ.๖) พ.ศ. 2459 (๑ เดือน ภายหลังโดนถอด)
8. พระสุเมธมุนี (ลับ สงฺกิจโจ ป.ธ.3) พ.ศ. 2460-2485
9. พระธรรมทัศนาธร (ทองสุก สุทัสโส ป.ธ.8) พ.ศ. 2492-2508
10.สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสรมหาเถร ป.ธ.9) พ.ศ. 2509-11 มีนาคม พ.ศ. 2554(ถึงแก่มรณภาพ)

ขอบคุณข้อมูลจาก วิกีพีเดีย

อยากให้ลองไปค้นบทความ หรือพงศาวดาร หรือจดหมายเหตุ มาอ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับสงคราม ๙ ทัพ สงครามครั้งสำคัญ ที่สร้างไทยให้เป็นไทยอยู่ทุกวันนี้ และคงยังไม่สายเกินไปที่จะนำกล่าวถึงในโอกาสนี้ และจะเป็นที่มาของการสร้างพระพิมพ์ของวัดชนะสงคราม ภาพพระพิมพ์ที่แสดงไว้ใน post ที่ 50732 เป็น ๑ จำนวนนั้นเท่านั้น วันนี้ผมนำพิมพ์ที่ ๒ มาให้ชมกัน การได้อ่านเรื่องราวของสงคราม ๙ ทัพนี้ จะรู้สึกถึงความสำคัญ และหวงแหนพระพิมพ์นี้ เนื่องจากพระพิมพ์นี้เรียกว่า "พระพิมพ์เล็บช้าง" ได้จัดสร้างขึ้นในโอกาสฉลองชัยสงคราม ๙ ทัพ การจัดสร้างอยู่ในช่วงปีพ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๖๓ โดยสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาท พระมหาอุปราชวังหน้า รัชกาลที่ ๑ นั่นเอง ซึ่งก็คือช่วงเวลาที่พระมหาสุเมธาจารย์ เป็นเจ้าอาวาสวัดชนะสงคราม


ความเห็นตัวผมเอง คิดว่า น่าจะเป็นปีพ.ศ.๒๓๓๐ เมื่อคราวเสร็จศึกที่นครลำปางป่าซางนั่นเอง เช่นนั้น อายุพระพิมพ์จึงมีอายุ ๒๒๕ ปี (คำนวณที่ปีพ.ศ.๒๓๓๐-๒๕๕๕)

เนื่องจากผู้เขียนเป็นเพียงนักศึกษาที่ยังไม่รู้จริงยังไม่แตกฉานในพระพิมพ์ต่างๆฉนั้นการที่ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดต่างๆที่อยู่ในกระทู้"พระวังหน้า.."นี้ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการอ่าน และไม่ควรนำไปอ้างอิง (จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง) ด้วยเหตุผลเดียวกัน ความเข้าใจและความคิดเห็น ในความรู้พระวังหน้า วังหลวง ของผู้เขียนในอนาคต อาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฎในกระทู้ "พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก.." นี้ก็เป็นได้
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
โดยส่วนตัวผม ผมเองมีจุดยืนในเรื่องของ พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตระ) อธิษฐานจิตที่วังหน้า

สำหรับพระวังหน้า หรือ วัตถุมงคลต่างๆที่สร้างขึ้น 3 สมัย (สมัยของวังหน้า)

1.สมเด็จพระราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

2.สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

3.สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพ

หลวง ปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตระ) ท่านไม่ได้มาอธิษฐานจิตให้ในพระราชพิธีหลวงต่างๆ เนื่องจากหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตระ) ไม่มีความเกี่ยวเนื่องกับวังหน้าทั้ง 3 พระองค์

หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตระ) มีความเกี่ยวเนื่องกับกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญเท่านั้น

ส่วน เรื่องของการตรวจสอบพลังอิทธิคุณ ผมเองเคยอธิบายไว้ในกระทู้พระวังหน้าฯนี้ บ่อยครั้งมากแล้ว สำหรับท่านผู้อ่าน ลองเข้าไปอ่านดูเอง

เรื่อง ของโพสความเห็นต่างๆของบุคคลต่างๆในกระทู้พระวังหน้าฯ เป็นสิทธิของแต่ละท่านที่จะโพสแสดงความคิดเห็น และเป็นผู้ที่รับผิดชอบในโพสของตนเอง


โมทนา
.
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)