ผู้เขียน หัวข้อ: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong  (อ่าน 40398 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 4 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #60 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:03:11 pm »
(๕) ประเภทที่ ๕
(๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ประเภทที่ ๖
(๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ประเภทที่ ๗
(๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ประเภทที่ ๘
(๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ประเภทที่ ๙
(๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ประเภทที่ ๑๐
(๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๑) ประเภทที่ ๑๑
(๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๒) ประเภทที่ ๑๒
(๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ
ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑
ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑
ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑
ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑
ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑
ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑
จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑
จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑
จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯเมตตาพรหมวิหารภาวนา
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #61 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:03:51 pm »
พระคาถาอิติปิโส   ๘   ทิศ
คาถายันต์เกราะเพ็ชร   สมเด็จลุน   แห่งนครจำปาศักดิ์
นโม   ๓   จบ
๑.   อิ   ระ   ชา   คะ   ตะ   ระ   สา
ชื่อ   กระทู้   ๗   แบก   ประจำอยู่ทิศบูรพา   ( ทิศตะวันออก )
๒.   ติ   หัง   จะ   โต   โร   ถิ   นัง
ชื่อ   ฝนแสนห่า   ประจำอยู่ทิศอาคเนย์   ( ทิศตะวันออกเฉียงใต้ )
๓.   ปิ   สัม   ระ   โล   ปุ   สัต   พุท
ชื่อ   นารายณ์เกลื่อนสมุทร   ประจำอยู่ทิศทักษิณ   ( ทิศใต้ )
๔.   โส   มา   ณะ   กะ   ริ   ถา   โธ
ชื่อ   นารายณ์ถอดจักร   ประจำอยู่ทิศหรดี   ( ทิศตะวันออกเฉียงใต้ )
๕.   ภะ   สัม   สัม   วิ   สา   เท   ภะ
ชื่อ   นารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพ   ประจำอยู่ทิศประจิม   ( ทิศตะวันตก )
๖.   คะ   พุท   ปัน   ทู   ทัม   วะ   คะ
ชื่อ   นารายณ์พลิกแผ่นดิน   ประจำอยู่ทิศพายัพ   ( ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ )
๗.   วา   โธ   โน   อะ   มะ   มะ   วา
ชื่อ   ตวาดฟ้าป่าหิมพานต์   ประจำอยู่ทิศอุดร   ( ทิศเหนือ )
๘.   อะ   วิช   สุ   นุต   สา   นุ   ติ
ชื่อ   นารายณ์แปลงรูป   ประจำอยู่ทิศอีสาน   ( ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ )



อิติปิโส  ถอยหลัง
   ติ  วา  คะ  ภะ  โธ  พุท  นัง  สา  นุส  มะ  วะ  เท  ถา  สัต  ถิ  ระ  สะ  มะ  ทัม  สะ  ริ  ปุ  โร  ตะ  นุต  อะ  ทู  วิ  กะ  โล  โต  คะ  สุ  โน  ปัน  สัม ณะ  ระ  จะ  ชา  วิช  โธ  พุท  สัม  มา  สัม  หัง  ระ  อะ  วา  คะ  ภะ  โส  ติ  อิ




อิติปิโส  แปลงรูป
กะ  วิ  โล  ทู  โต  อะ  คะ  นุต
สุ  ตะ  โน  โร  ปัน  ปุ  สัม  ริ
ณะ  สะ  ระ  ทัม  จะ  มะ  ชา  สา
วิช  ระ  โธ  ถิ  พุท  สัต  สัม  ถา
มา  เท  สัม  วะ  หัง  มะ  ระ  นุส
อะ  สา  วา  นัง  คะ  พุท  ภะ
โธ  โส  ภะ  ปิ  คะ  ติ  วา  อิ  ติ

อิติปิโส  ตรึงไตรภพ
อิ  ติ  ติ  วา  ปิ  คะ  โส  ภะ
ภะ  โธ  คะ  พุท  วา  นัง  อะ  สา
ระ  นุส  หัง  มะ  สัม  วะ  มา  เท
สัม  ภา  พุท  สัต  โธ  ถิ  วิช  ระ
ชา  สา  จะ  มะ  ระ  ทัม  ณะ  สะ
สัม  ริ  ปัน  ปุ  โน  โร  สุ  ตะ
คะ  นุต  โต  อะ  โล  ทู  กะ  วิ
   
   พระพุทธมนต์บทนี้  เรียกอิติปิโสตรึงไตรภพ  ไตรภพคือมนุษย์โลก  เทวโลก  พรหมโลก  ถ้าต้องการให้คนในสามโลกนี้  เคารพนับถือ  เราให้เสกคาถานี่เป็นกิจวัตรประจำวัน  ทั้งเทวดา  และพระพรหมจะมากราบไหว้บูชาเรา  ก่อนจะไปสังคมใดให้เสกคาถานี้กี่จบก็ได้  จะเป็นที่เคารพนับถือ  กราบไหว้บูชาของคนในสังคมนั้น  เราจะพูดสนทนา  หรือสั่งเสียอะไรเขาจะเชื่อฟัง  คนหรือสัตว์มีทิฐิมานะกล้าแข็ง  ถ้าต้องการให้หายพยศ  ให้เสกคาถาบทนี้ก่อน  หรือจะเสกทำน้ำมนต์ให้อาบให้กินก็ได้
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #62 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:15:46 pm »
บทขัดธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสูตร
   
   อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง         สัมพุชฌิต์ะวา ตะถาคะโต
ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ            ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง
สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต            โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
ยัตถากขาตา อุโภ อันตา             ปะฏิปัตติ จะ มัชฌิมา
จะตูส์ะวาริยะสัจเจสุ               วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง
เทสิตัง ธัมมะราเชนะ            สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง
นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง            ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง
เวยยากะระณะปาเฐนะ            สังคีตันตัมภะณามะ เส ฯ

ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง
   
   เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ ตัต์ะระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ
   ท์ะเวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ
   เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญาะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
   กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี  อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
   อะยะเมวะ อะริโย  อัฏฐังคิโก  มัคโค ฯ  เสยยะถีทัง ฯ  สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป  สัมามาวาจา   สัมมากัมมันโต  สัมมาอาชีโว  สัมมาวายาโม  สัมมาสะติ  สัมมาสะมาธิ ฯ
   อะยัง โข สา ภิกขะเว  มัชฌิมา  ปะฏิปะทา  ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี  อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ  สัมโพธายะ  นิพพานายะ  สังวัตตะติ ฯ
   อิทัง  โข  ปะนะ  ภิกขะเว  ทุกขัง  อะริยะสัจจัง  ชาติปิ  ทุกขา  ชะราปิ  ทุกขา มะระณัมปิ  ทุกขัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ  ทุกขา อัปปิเยหิ   สัมปะโยโค  ทุกโข  ปิเยหิ  วิปปะโยโค  ทุกโข  ยัมปิจฉัง  นะ  ละภะติ  ตัมปิ  ทุกขัง  สังขิตเตนะ  ปัญจุปาทานักขันธา  ทุกขา ฯ
   อิทัง โข  ปะนะ  ภิกขะเว  ทุกขะสะมุทะโย  อะริยะสัจจัง ฯ  ยายังตัณหา โปโนพภะวิกา  นันทิราคะสะหะคะตา  ตัต์ะระ  ตัต์ะราภินันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา  ภะวะตัณหา  วิภะวะตัณหา ฯ
   อิทัง  โข  ปะนะ  ภิกขะเว  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจัง ฯ  โย  ตัสสาเยวะ  ตัณหายะ  อะเสสะวิราคะนิโรโธ  จาโค  ปะฏินิสสสัคโค  มุตติ  อะนาละโย ฯ
   อิทัง โข  ปะนะ ภิกขะเว  ทุกขะนิโรธะคามินี  ปะฏิปะทา   อะริยะสัจจัง ฯ
   อะยะเมวะ  อะริโย  อัฏฐังคิโก  มัคโค ฯ  เสยยะถีทัง ฯ  สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัปโป  สัมมาวาจา  สัมมากัมมันโต  สัมมาอาชีโว  สัมมาวายาโม  สัมมาสะติ  สัมมาสะมาธิ  ฯ
   อิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ   จักขุง   อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจัง  ปะริญเญยยันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจัง  ปะริญญาตันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   อิทัง  ทุกขะสะมุทะโย  อะริยะสัจจันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อะทุปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะสะมุทะโย  อะริยะสัจจัง  ปะหาตัพพันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง โข  ปะนิทัง  ทุกขะสะมุทะโย  อะริยะสัจจัง  ปะหีนันติ  เม  ภิกขะเว ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   อิทัง  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจัง  สัจฉิกาตัพพันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจัง  สัจฉิกะตันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
   อิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง  ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี  ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง  ภาวิตันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ
   ยาวะกีวัญจะ  เม  ภิกขะเว  อิเมสุ  จะตูสุ  อะริยะสัจเจสุ  เอวันติปะริวัฏฏัง ท์ะวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ  สุวิสุทธัง  อะโหสิ ฯ
   เนวะ  ตาวาหัง  ภิกขะเว  สะเทวะเก  โลเก  สะมาระเก  สะพรัหมะเก   สัสสสะมะณะพราหมะณิยา  ปะชายะ  สะเทวะมะนุสสายะ  อะนุตตะรัง  สัมมาสัมโพธิง  อะภิสัมพุทโธ  ปัจจัญญาสิง ฯ
   ยะโต  จะ โข  เม ภิกขะเว  อิเมสุ  จะตูสุ  อะริยะสัจเจสุ  เอวันติปะริวัฏฏัง  ท์ะวาทะสาการัง  ยะถาภูตัง  ญาณะทัสสะนัง  สุวิสุทธัง  อะโหสิ ฯ
   อะถาหัง  ภิกขะเว  สะเทวะเก  โลเก  สะมาระเก  สะพรัหมะเก  สัสสะมะณะพราหมะณิยา  ปะชายะ  สะเทวะมะนสสายะ  อะนุตตะรัง  สัมมาสัมโพธิง  อะภิสัมพุทโธ  ปัจจัญญาสิง ฯ
   ญาณัญจะ  ปะนะ  เม ทัสสะนัง  อุทะปาทิ  อะกุปปา  เม  วิมุตติ  อะยะมันติมา  ชาติ  นัตถิทานิ  ปุนัพภะโวติ ฯ
   อิทะมะโวจะ  ภะคะวาฯ อัตตะมะนา  ปัญจะวัคคิยา  ภิกขู  ภะคะวะโต  ภาสิตัง  อะภินันทุง ฯ อิมัส์ะมิญจะ  ปะนะ  เวยยากะระณัส์ะมิง  ภัญญะมาเน  อายัส์ะมะโต  โกณฑัญญัสสะ  วิระชัง  วีตะมะลัง  ธัมมะจักขุง  อุทะปาทิ  ยังกิญจิ  สะมุทะยะธัมมัง  สัพพันตัง  นิโรธะธัมมันติ ฯ
   ปะวัตติเต  จะ  ภะคะวะตา  ธัมมะจักเก  ภุมมา  เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง  เตตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง  อิสิปะตะเน  มิคะทาเย  อะนุตตะรัง  ธัมมะจักกัง  ปะวัตติตัง  อัปปะฏิวัตติยัง  สะมะเณนะ  วา พราหมะเณนะ  วา  เทเวนะ  วา  มาเรนะ  วา  พรัหมุนา  วา เกนะจิ  วา โลกัส์ะมินติ ฯ
   ภุมมานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   จาตุมมะหาราชิกา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  จาตุมมะหาราชิกานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   ตาวะติงสา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตาวะติงสานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   ยามา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  ยามานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   ตุสิตา เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  ตุสิตานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   นิมมานะระตี  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  นิมมานะระตีนัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุงฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา  (เมื่อจะสวดย่อสวดมาถึงตรงนี้แล้วสวด  พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง แล้วลง  เอตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง อิสิปะตะเนมิคะทาเย ฯลฯ  เหมือนกันไปจนจบ)  พรัหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุงฯ พรัหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง  สุต์ะวา
   พรัหมะปะโรหิตา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  พรัหมะปะโรหิตานัง  เทวานัง  สัททัง สุต์ะวา
   มะหาพรัหมา เทวา สัททะมะนุสาสาเวสุง ฯ  มะหาพรัหมานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  ปะริตตาภานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   อัปปะมาณาภา  เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  อัปปะมาณา  ภานัง  เทวานัง  สัททัง สุต์ะวา
   อาภัสสะรา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  อาภัสสะรานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   ปะริตตะสุภา  เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  ปะริตตะสุภานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   อัปปะมาณะสุภา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสสุง ฯ  อัปปะมาณะสุภานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   สุภะกิณหะกา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุภะกิณหะกานัง  เทวานัง  สัททัง สุต์ะวา
   เวหัปผะลา  เทวา  สัททะเมนุสสาเวสุง ฯ  เวหัปผะลานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   อะวิหา   เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  อะวิหานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   อะตัปปา  เทวา   สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  อะตัปปานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวะ
   สุทัสสา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  สุทัสสานัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   สุทัสสี  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  สุทัสสีนัง  เทวานัง  สัททัง  สุต์ะวา
   อะกะนิฏฐะกา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
   เอตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง  อิสิปะตะเน  มิคะทาเย  อะนุตตะรัง  ธัมมะจักกัง  ปะวัตติตัง  อัปปะฏิวัตติยัง  สะมะเณนะ  วา  พราหมะเณนะ  วา  เทเวนะ  วา  มาเรนะ  วา พรัหมุนา  วา  เกนะจิ  วา  โลกัส์ะมินติ ฯ
   อิติหะ  เตนะ  ขะเณนะ  เตนะ  มุหุตเตนะ  ยาวะ  พรัหมะโลกา  สัทโท  อัพภุคคัจฉิ ฯ  อะยัญจะ  ทะสะสะหัสสี  โลกะธาตุ  สังกัมปิ  สัมปะกัมปิ  สัมปะเวธิ ฯ  อัปปะมาโณ  จะ  โอฬาโร  โอภาโส  โลเก  ปาตุระโหสิ  อะติกกัมเมวะ  เทวานัง  เทวานุภาวัง ฯ
   อะถะโข  ภะคะวา  อุทานัง  อุทาเนสิ  อัญญาสิ  วะตะ  โภ  โกณฑัญโญ  อัญญาสิ  วะตะ  โภ  โกณฑัญโญติ ฯ
   อิติหิทัง  อายัส์ะมะโต  โกรฑัญญัสสะ  อัญญาโกณฑัญโญต์ะเววะนามัง  อะโหสีติ ฯ
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #63 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:16:36 pm »
คำแปลธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง
โดยคุณ Amine post

จากหนังสือ "สวดมนต์แปล" วัดจันทาราม อ.เมือง จ.อุทัยธานี หน้า 97 - 113ซึ่งค่อนข้างจะแปลละเอียดและคาดว่าจะเป็นบทสวดเต็ม มาให้ครับ .. ถ้าคัดลอกผิดไปบ้าง..ขออภัยด้วย..ผู้ใดพบเห็นกรุณาเสนอแก้ด้วยนะครับ ;
บทสวดธัมมจักกัปปวัฒนสูตร พระอานนทเถรพุทธอุปัฏฐาก ได้กล่าวแสดงต่อคณะสงฆ์ ในการทำสังคายครั้งที่ ๑ ว่าดังนี้
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเยฯ
ข้าพเจ้าได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับยับยั้งอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันใกล้เมืองพาราณสี ฯ
ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ
ในกาลครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเตือนสติเหล่าภิกษุปัญจวัคคีย์ให้ตั้งใจฟังและพิจารณาตามพระดำรัสของพระองค์อย่างนี้ว่า ฯ
เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตไม่ควรปฏิบัติให้หนักไปในส่วนที่สุด ๒ อย่าง คือ
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน (ถ้ามีการตรวจคำหยาบ..ตรงนี้ให้ออกเสียงว่า ฮีโน..นะครับ) คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต
การประพฤติปฏิบัติตนเพื่อแสวงหาความสุขอยู่ใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่ารักน่าปรารถนา ซึ่งเป็นธรรมอันเลว เป็นเหตุให้ต้องมีบ้านเรือน เป็นธรรมของคนผุ้ครองเรือนผู้หนาไปด้วยกิเลส ไม่ใธรรมอันจะนำจิตใจออกจากกิเลส ไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลาย นี่อย่างหนึ่ง
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ
และอีกอย่างหนึ่ง คือ การประพฤติปฏิบัติด้วยการทรมานร่างกายให้ได้รับความลำบาก ซึ่งมีแต่ทำให้ใจเป็นทุกข์ทรมานอย่างเดียว ไม่เป็นทางนำจิตใจออกจากกิเลส และไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจท้งหลาย ฯ (หรืออีกนัยหนึ่งคือ เร่งหักโหมปฏิบัติธรรมจนเกินกำลัง เพื่อหวังจะได้บรรลุมรรคผลเร็ว ๆ )
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนะปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตได้รู้ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง โดยไม่เข้าไปใกล้ส่วนที่สุด ๒ อย่างนั้นแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ
ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น สามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อทำให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ฯ
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งสามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ที่ตถาคตรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่งนั้น คือการปฏิบัติอย่างไร?
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ
ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนี้ คือ ทางนำไปสู่ความไกลจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลาย มี ๘ อย่าง ฯ
เสยยะถีทัง
ข้อปฏิบัติเหล่านี้คือ
- สัมมาทิฏฐิ
ปัญญาอันเห็นชอบ ( คือ เห็นอริยสัจ )
- สัมมาสังกัปโป
ความดำริชอบ ( คิดจะออกจากกาม ไม่คิดอาฆาตพยาบาท ไม่คิดเบียดเบียน )
- สัมมาวาจา
วาจาชอบ ( ไม่พูดโกหก ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดคำส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล )
- สัมมากัมมันโต
การงานชอบ ( เว้นจากการทุจริต เช่น โกงแรงงานเขาเป็นต้น และทำการงานที่ไม่มีโทษ )
- สัมมาอาชีโว
การเลี้ยงชีวิตชอบ ( หากินโดยไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม ไม่ผิดประเพณี )
- สัมมาวายาโม
ความเพียรชอบ ( เพียรละชั่ว ประพฤติดีเพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจ และเพื่อให้ได้คุณธรรมสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป )
- สัมมาสะติ
การระลึกชอบ ( ระลึกนึกถึง อนุสสติ ๑๐ ประการ มีพระนิพพานเป็นที่สุด และระลึกในมหาสติปัฏฐาน ๔ )
- สัมมาสะมาธิ ฯ
การตั้งจิตไว้ชอบ ( การทำสมาธิให้อารมณ์ตั้งมั่นในอนุสสติ ๑๐ ประการนั้น ) ฯ
( หรือกล่าวโดยย่อ มรรค ๘ ประการนี้ก็คือ ศีล สมาธิ ปัญญา )
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางเหล่านี้แล คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งสามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อทำให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ที่ตถาคตรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สภาวะเหล่านี้แลเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง คือ
- ชาติปิ ทุกขา
ความเกิดก็เป็นทุกข์
- ชะราปิ ทุกขา
เมื่อความแก่เข้ามาถึง ก็เป็นทุกข์
- มะระณัมปิ ทุกขัง
เมื่อความตายเข้ามาถึง ก็เป็นทุกข์
- โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัสสุกปายาสาปิ ทุกขา
เมื่อความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน ความเสียใจ และความคับแค้นใจเกิดขึ้นมา ก็เป็นทุกข์
- อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข
เมื่อประสบพบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ ก็เป็นทุกข์
- ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
เมื่อพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักที่ชอบใจก็เป็นทุกข์
- ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
และแม้คิดปรารถนาอยากได้สิ่งใด แต่ไม่ได้สิ่งนั้นสมปรารถนา ก็เป็นทุกข์
- สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ
กล่าวโดยย่อแล้วก็คือ การหลงคิดว่าร่างกายเป็นของเราของเขานั่นแล เป็นตัวทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ยายัง ตัณหา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้แลเป็นต้นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง
โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภินันทินี เสยยะถีทัง กามะตัณหา
คือ มีความอยากเวียนว่ายตายเกิดอยู่ร่ำไป และมีความกำหนัดยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่าปรารถนา ก็เป็นเหตุให้ใจเกิดทุกข์
ภะวะตัณหา
สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็คิดอยากจะให้มีขึ้นมา อย่างนี้ก็ทำให้ใจเกิดทุกข์
วิภะวะตัณหา
และเมื่อมีทุกอย่างสมปรารถนาแล้ว ก็อยากจะให้ทุกอย่างคงทนอยู่ตลอดไป เมื่อมันจะต้องสลายหายไป ก็ร้อนใจไม่อยากให้เป็นเช่นนั้น อย่างนี้ก็ยิ่งทำให้ใจเกิดทุกข์หนักขึ้นอีก ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การดับตัณหาความอยากให้หมดไปจากใจด้วยการ ละ วาง ปล่อย และไม่คิดยินดีพัวพันอยู่กับตัณหาความอยากนั้นอีกเด็ดขาด คือ การดับทุกข์ให้หมดไปจากใจได้อย่างแท้จริง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทัง สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเพื่อนำกิเลสให้หมดไปจากใจนี้ มี ๘ อย่าง คือ ปัญญาเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรชอบ การระลึกชอบ และการตั้งจิตไว้ชอบ คือ ข้อปฏิบัติเพื่อนำใจให้หมดจากกิเลสและดับความทุกข์ได้อย่งแท้จริง ฯ
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาคือ ปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราอย่างนี้ว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน ความเสียใจ และความคับแค้นใจ เป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหล่านี้เป็นต้น อันเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริงนั้นแล เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือ ปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้งและความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหล่านี้เป็นต้น อันเป็นตัวทุกข์อย่งแท้จริงนี้นั้นแล เราได้หยั่งรู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะสุมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่างในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้ เป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจ อันเป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ต้องละให้ขาด" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ (ให้อ่านว่า ปะฮีนันติ..Amine) เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจ อันเป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ละขาดไปจากใจแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริง" ฯ
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #64 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:18:29 pm »
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ทำให้แจ้งในใจอยู่ตลอดเวลาแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรธคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ เป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ อันเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ อันเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว" ฯ
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความจริง ๔ อย่าง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ ถ้าหากเรายังไม่รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ
( อาการ ๑๒ รอบนี้ เรียกว่า ญาณ ๓ คือ
1. สัจจญาณ : การหยั่งรู้ให้ทราบชัดในความจริงแต่ละอย่างในความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ว่าเป็นทุกข์แท้จริง , ตัณหาคือเหตุเกิดทุกข์แท้จริง , การดับตัณหาคือการดับทุกข์ได้แท้จริง , มรรคคือ ทาง ๘ ประการเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง
2. กิจจญาณ : การหยั่งรู้ให้ทราบชัดว่า จะต้องทำอย่งไรกับความจริงแต่ละอย่างนั้น ว่า ตัวทุกข์ควรต้องกำหนดรู้ตลอดเวลา , ตัณหาต้องละให้ขาด , การดับตัณหาเป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา , มรรค ๘ เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา และ
3. กตญาณ : การหยั่งรู้ว่าได้ทำหน้าที่ทุกอย่างในความจริงแต่ละอย่างนั้นได้โดยบริบูรณ์แล้ว คือ ทุกข์รู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว , ตัณหาได้ละขาดไปจากใจแล้ว , การดับตัณหาได้ทำให้แจ้งในใจตลอดเวลาแล้ว , มรรค ๘ ได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว )
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล้าประกาศยืนยันแก่มนุษยโลก ตลอดถึงเทวโลก มารโลก พรหมโลก รวมทั้งหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ ให้ได้รู้เพียงนั้น ว่าเราได้ตรัสรู้พร้อมยิ่งซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้โดยชอบอันยอดเยี่ยม ซึ่งไม่มีความตรัสรู้อื่นในโลกใด ๆ หรือ ของใคร ๆ จะเทียบได้ ฯ
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ความจริง ๔ อย่ง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ เราได้รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ ด้วยปัญญาอันบริสุทธิ์หมดจดแล้ว ฯ
อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้น เราจึงกล้าประกาศยืนยันแก่มนุษยโลก ตลอดถึงเทวโลก มารโลก พรหมโลก รวมทั้งหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ ให้ได้รู้เฉพาะว่า เราได้ตรัสรู้พร้อมยิ่งซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้โดยชอบอันยอดเยี่ยม ซึ่งไม่มีความตรัสรู้อื่นในโลกใด ๆ หรือของใคร ๆ จะเทียบได้ ฯ
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ
ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแก่เราแล้วว่า "กิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลายไม่สามารถจะกำเริบขึ้นมาได้อีกแล้ว จิตของเราได้หลุดพ้นจากกิเลสโดยวิเศษแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของเราแล้ว บัดนี้ไม่มีภพเป็นที่เกิดสำหรับเราอีกแล้ว" ฯ
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ
ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงความจริง ๔ อย่างอันประเสริฐ อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสอย่างนี้แล้ว ฯ
อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ
พระภิกษุปัจจวัคคีย์เหล่านั้น ก็มีความเพลิดเพลินยินดีในธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสแล้วนั้น ฯ
อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน
ก็ในเมื่อขณะที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงกล่าวแสดงความละเอียดพิศดารแห่งความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการอยู่นั่นแล
อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ "ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ" ฯ
ดวงตาคือ ปัญญาอันเห็นธรรม ซึ่งปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดแล้วแก่ท่านโกณทัญญะ ผู้มีอายุอย่างนี้ว่า "สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาแล้ว สิ่งนั้น ๆ ทั้งปวง ก็ต้องดับสลายไปเป็นธรรมดา" ฯ
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก
ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ทรงประกาศวงล้อแห่งธรรมให้เป็นไปแล้วนั่นแล
ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
ภูมิเทวดาทั้งหลาย ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้นว่า
"เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ
"นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึงเทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก ไม่สามารถให้เป็นไปได้"
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวดา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าภูมิเทวดาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์ ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
[bตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สังททัง สุตวา พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้นว่า
"เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ
"นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึง เทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก ไม่สามารถให้เป็นไปได้" ฯ
อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ ฯ
และโดยขณะเดียวเท่านั้น เสียงก็ดังขึ้นไปถึงพรหมโลกด้วยอาการอย่างนี้ ฯ
อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ ฯ
และเสียงนี้ได้สะท้านสะเทือนหวั่นไหว ดังสนั่นไปตลอดทิศทั้ง ๔ ทั่วทั้งหมื่นโลกธาตุ ฯ
อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ
อีกทั้งแสงสว่างอันใหญ่ยิ่งไม่มีประมาณ ได้ปรากฏแล้วในโลก ล่วงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลายเสียหมด ฯ
อะถะ โข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ "อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญติ" ฯ
ในลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานขึ้นว่า "โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ" ฯ (อัญญาสิ : ได้รู้แล้ว)
อิติหิทัง อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ "อัญญาโกณทัญโญ" เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
เพราะเหตุที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งอุทานขึ้นมาอย่างนี้แล นามว่า "อัญญาโกณทัญญะ" นี้นั่นแหละ ได้มีแล้วแก่พระโกณทัญญะผู้มีอายุ ด้วยประการฉะนี้ แลฯ
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #65 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:19:01 pm »
บทขัดกะระณียะเมตตะสุตตัง
   
   ยัสสานุภาวะโต ยักขา         เนวะ ทัสเสนติ ภิงสะนัง
ยัมหิ เจวานุยุญชันโต             รัตตินทิวะมะตันทิโต
สุขัง สุปะติ สุตโต จะ            ปาปัง กิญจิ นะ ปัสสะติ
เอวะมาทิคุณูเปตัง            ปะริตตันตัมภะณามะ เหฯ

กะระณียะเมตตะสุตตัง
   กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ      ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ            สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ         อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท์ะริโย จะ นิปะโก จะ         อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
นะจะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ         เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ            สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ            ตะสา วาถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา         มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ทิฏฐา วาเย จะ อะทิฏฐา         เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา            สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ         นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ
พ์ะยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา         นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง         อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข
เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ            มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
   เมตตัญจะ สัพพะโลกัส์ะมิง      มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะติริยัญจะ         อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา         สะยาโน วา ยาวะตัสสะวิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ         พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา      ทัสสะเนนะ สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง            นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #66 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:19:32 pm »
บทขัดอาฏานาฏิยะปะริตตัง

   อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ         สาสะเน สาธุสัมมะเต
อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ                สะทา กิพพิสะการิภิ
ปะริสานัญจะตัสสันนะ-            มะหิงสายะ จะ คุตติยา
ยันเทเสสิ มะหาวีโร               ปะริตตันตัมภะณามะ เหฯ

อาฏานาฏิยะปะริตตัง

   วิปัสสิสสะ นะมัตถุ            จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
สิขิสสะปิ นะมัตถุ               สัพพะภูตานุกัมปิโน
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ               นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ               มาระเสนัปปะมัททิโน
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ            พราหมะณัสสะ วุสีมะโต
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ               วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ               สัก์ะยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ            สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
เย จาปิ นิพพุตา โลเก               ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง
เต ชะนา อะปิสุณา               มะหันตา วีตะสาระทา
หิตัง เทวะมะนุสสานัง               ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปันนัง            มะหันตัง วีตะสาระทังฯ
(วิชชาจะระณะสัมปันนัง            พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ)
   นะโม เม สัพพะพุทธานัง         อุปปันนานัง มะเหสินัง
ตัณหังกะโร มะหาวีโร               เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต            ทีปังกะโร ชุตินธะโร
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข            มังคะโล ปุริสาสะโภ
สุมะโน สุมะโน ธีโร               เรวะโต ระติวัฑฒะโน
โสภีโต คุณะสัมปันโน               อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม
ปะทุโม โลกะปัชโชโต               นาระโท วะระสาระถี
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร            สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล
สุชาโต สัพพะโลกัคโค               ปิยะทัสสี นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณิโก               ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
สิทธัตโถ อะสะโม โลเก            ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ            วิปัสสี จะ อะนูปะโม
สิขี สัพพะหิโต สัตถา               เวสสะภู สุขะทายะโก
กะกุสันโธ สัตถะวาโห               โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
กัสสะโป สิริสัมปันโน               โคตะโม สักะยะปุงคะโว
   เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา         อะเนกะสะตะโกฏะโย
สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา            สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา
สัพเพ ทะสะพะลูเปตา               เวสารัชเชหุปาคะตา
สัเพ เต ปะฏิชานันติ                อาสะภัญฐานะมุตตะมัง
สีหะนาทัง นะทันเต เต               ปะริสาสุ วิสาระทา
พรัหมะจักกัง ปะวัตเตนติ            โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
อุเปตา พุทธะธัมเมหิ               อัฏฐาระสะหิ นายะกา
ท์ะวัตติงสะลักขะณูเปตา-            สีต์ะยานุพ์ะยัญชะนาธะรา
พ์ะยามัปปะภายะ สุปปะภา            สัพเพ เต มุนิกุญชะรา
พุทธา สัพพัญญุโน เอเต            สัพเพ ขีณาสะวา ชินา
มะหัปปะภา มะหาเตชา            มะหาปัญญา มะหัพพะลา
มะหาการุณิกา ธีรา               สัพเพสานัง สุขาวะหา
ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ            ตาณา เลณา จะ ปาณินัง
คะตี พันธู มะหัสสาสา               สะระณา จะ หิเตสิโน
สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ            สัพเพ เอเต ปะรายะนา
เตสาหัง สิระสา ปาเท               วันทามิ ปุริสุตตะเม
วะจะสา มะนะสา เจวะ            วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน            คะมะเน จาปิ สัพพะทา
สะทา สุเขนะ รักขันตุ               พุทธา สันติกะรา ตุวัง
เตหิ ต์ะวัง รักขิโต สันโต             มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ
สัพพะโรคะวินิมุตโต               สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต            นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ ฯ
   เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ            ขันติเมตตาพะเลนะ จะ
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ ฯ
   ปุรัตถิมัส์ะมิง ทิสาภาเค         สันติ ภูตา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ
ทักขิณัส์ะมิง ทิสาภาเค            สันติ เทวา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ
ปัจฉิมัส์ะมิง ทิสาภาเค               สันติ นาคา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ
อุตตะรัส์ะมิง ทิสาภาเค            สันติ ยักขา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ
ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ               ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข               กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
จัตตาโร เต มะหาราชา            โลกะปาลา ยะสัสสิโน
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา            เทวา นาคา มหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ            อาโรค์ะเยนะ สุเขนะ จะ
   นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง         พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ               โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง            ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ               โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง            สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ               โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
   ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก            วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ            ตัส์ะมา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก               วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ             ตัส์ะมา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก               วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ            ตัส์ะมา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
   สักกัต์ะวา พุทธะระตะนัง         โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
หิตัง เทวะมะนุสสานัง               พุทธะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปัทท์ะวา สัพเพ            ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต
สักกัต์ะวา ธัมมะระตะนัง            โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
ปะริฬาหูปะสะมะนัง               ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปัทท์ะวา สัพเพ            ภะยา วูปะสะเมนตุ เต
สักกัต์ะวา สังฆะระตะนัง            โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง            สังฆะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปัทท์ะวา สัพเพ             โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ
   สัพพีติโย วิวัชชันตุ            สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภุวัต์ะวันตะราโย            สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
อะภิวาทะนะสีลิสสะ               นิจจัง วุฆฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ            อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #67 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:20:16 pm »
พระคาถาชินบัญชร
สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต  พรหมรังสี )  วัดระฆังโฆสิตาราม

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง      ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ         เทวานังปิยะตังสุตตะวา
(  อิติปิ   โส   ภะคะวา   ยะมะราชาโน   ท้าวเวสสุวัณโณ
มะระณัง   สุขัง   อะระหัง   สุคะโต  นะโมพุทธายะ  )
     ๑.   ชะยาสะนากะตา  พุทธา      เชตวา  มารัง  สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง  ระสัง         เย  ปิวิงสุ  นะราสะภา
 ๒.   ตัณหังกะราทะโย  พุทธา      อัฎฐะวีสะติ  นายะกา
สัพเพ  ปะติฎฐิตา  มัยหัง      มัตถะเก  เต  มุนิสสะรา
 ๓.   สีเส  ปะติฎฐิตา  มัยหัง      พุทโธ  ธัมโม  ทะวิโลจะเน
สังโฆ  ปะติฎฐิโต  มัยหัง      อุเร  สัพพะคุณากะโร
 ๔.   หะทะเย  เม  อะนุรุทโธ      สารีปุตโต  จะ  ทักขิเณ
โกณฑัญโญ  ปิฎฐิภาคัสสมิง        โมคคัลลาโน  จะวามะเก
 ๕.   ทักขิเณ  สะวะเน  มัยหัง       อาสุง  อานันทะราหุโล
กัสสะโป  จะ  มะหานาโม       อุภาสุง  วามะโสตะเก
 ๖.   *เกเสนเต  ปิฎฐิภาคัสมิง       สุริโยวะ  ปะภังกะโร
นิสินโน  สิริสัมปันโน           โสภิโต  มุนิปุงคะโว
 ๗.   กุมาระกัสสะโป  เถโร           มะเหสี  จิตตะวาทะโก
โส  มัยหัง  วะทะเน  นิจจัง        ปะติฎฐาสิ  คุณากะโร
 ๘.   ปุณโณ  อังคุลิมาโล  จะ        อุปาลีนันทะสีวะลี
เถรา  ปัญจะ  อิเม  ชาตา        นะลาเฎ   ติละกา  มะมะ
 ๙.   **เสสาสีติ  มะหาเถรา           วิชิตา  ชินะสาวะกา
เอเตสีติ  มะหาเถรา           ชิตะวันโต  ชิโนระสา
***ชะลันตา  สีละเตเชนะ        อังคะมังเคสุ  สัณฐิตา
๑๐.   ระตะนัง  ปุระโต  อาสิ        ทักขิเณ  เมตตะสุตตะกัง
ธะชัคคัง  ปัจฉะโต  อาสิ        วาเม  อังคุลิมาละกัง
๑๑.   ขันธะโมระปะริตตัญจะ        อาฎานาฎิยะสุตตะกัง
อากาเส  ฉะทะนัง  อาสิ        เสสา  ปาการะสัณฐิตา
๑๒.   ชินานา  วะระสังยุตตา        สัตตัปปาการะลังกะตา
วาตะปิตตาทิสัญชาตา        พาหิรัชณัตตุปัททะวา
๑๓.   อะเสสา  วินะยัง  ยันตุ        อะนันตะชินะเตชะสา
วะสะโต  เม  สะกิจเจนะ        สะทา  สัมพุทธะปัญชะเร
๑๔.   ชินะปัญชะระมัชณัมหิ         วิหะรันตัง  มะฮี****  ตะเล
   สะทา  ปาเลนตุมัง  สัพเพ      เต  มะหาปุริสาสะภา
๑๔.   อิจเจวะมันโต  สุคุตโต  สุรักโข      ชินานุภาเวนะ  ชิตุปัททะโว 
ธัมมานุภาเวนะ  ชิตาริสังโฆ      สังฆานุภาเวนะ  ชิตันตะราโย 
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต        จะรามิ  ชินะปัญชะเรติ
พระคาถาชินบัญชร (ย่อ)     ชินะปัญชะระปะริตตัง  มัง  รักขะตุ  สัพพะทา
ขอพระชินบัญชรปริตร  จงรักษาข้าพเจ้าตลอดกาลทุกเมื่อ
หมายเหตุ   อาราธนาพระสมเด็จไปกับตัว            ใช้บทที่    ๓
      สำหรับนักพูด  นักแสดง  ก่อนพูดก่อนแสดง      ใช้บทที่    ๗
      สำหรับเสกน้ำล้างหน้า  เสกแป้งเจิม         ใช้บทที่    ๘
      ถ้าต้องการแคล้วคลาด ปลอดภัยอันตราย      ใช้บทที่     ๙
      สำหรับป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ            ใช้บทที่   ๑๓
      อาราธนาขอให้พระคุ้มครอง            ใช้บทที่   ๑๔
      สงบใจก่อนศึกษาเล่าเรียน            ใช้บทที่    ๕
      เมื่อต้องแสดงตนต่อที่ชุมชน            ใช้บทที่    ๖
      ป้องกันอันตรายจาก อมนุษย์            ใช้บทที่     ๑๐,๑๑
หมายเหตุ    *     **     ***     ****
๖.     *   บางตำราใช้ เกสันเต  หรือ  เกสะโต  ก็มี
๙.     **   ฉบับสิงหลไม่มีวรรคนี้
        ***   บางตำราใช้  ชะวนตา
๑๔.   ****   มะหีตะเล  ออกเสียงเป็น  มะฮีตะเล
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #68 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:20:45 pm »
คำแปลพระคาถาชินบัญชร
๑.พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลายผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์  ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาพาหนะแล้ว  เสวย อมตรส คือ  อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ  เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์
๒.มี  ๒๘  พระองค์  คือ  พระผู้ทรงพระนามว่า  ตัณหังกร  เป็นอาทิ  พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น
๓.ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐาน เหนือเศียรเกล้า    องค์สมเด็จพระสัมมาสัม-พุทธเจ้าประดิษฐ์ฐานอยู่บนศีรษะ  พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง  พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
๔.พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ  พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา  พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย  พระอัญญาโกณฑัญญะอยู่เบื้องหลัง
๕.พระอานนท์กับพระราหูอยู่หูขวา  พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย
๖.มุนีผู้ประเสริฐ  คือ  พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน  ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
๗.พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ  มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ
๘.พระปุณณะ  พระอังคุลิมาล  พระอุบาลี  พระนันทะ  และพระสิวลี  พระเถระทั้งห้านี้  จงปรากฎเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
๙.ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือ  ผู้มีชัยและเป็นพระโอรส  เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย  แต่ละองค์ล้วนรุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่
๑๐.พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า  พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา  พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย  พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง
๑๑.พระขันธปริตร  พระโมรปริตร  และพระอาฎานาฏิยสูตรเป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
๑๒.อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลายนอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้  ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิดมีศีลาทิคุณอันมั่นคง  คือสัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
๑๓.ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใด ๆ  เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชร แวด วง กรงล้อมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายในอันเกิดแต่โรคร้าย  คือโรคลมและโรคดี เป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ
๑๔.ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น  จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้าผู้อยู่ในภาคพื้น  ท่ามกลางพระชินบัญชร  ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล
๑๕.ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม  จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใด ๆ  ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า  ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม  ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์  ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ  และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญ ฯ
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
Re: บทสวดมนต์ รวบรวมโดย sithiphong
« ตอบกลับ #69 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 10:21:24 pm »
คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
นโม   ๓   จบ
อะหัง   วันทามิ   อะธะ   ปะติฏฐิตา   พุทธะธาตุโย   ตัสสานุภาเวนะ   สะทา   โสตถี   ภะวันตุ   เม.
   ข้าพเจ้า   ขอน้อบน้อมนมัสการกราบไหว้   พระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า   ที่ประดิษฐานอยู่   ณ   ที่นี้   ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้   ขอให้ข้าพเจ้าประสพแต่ความสุขสวัสดีตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ

คำอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุ

   อะเนกะกัปเป   กุสะเล   จินิตตะวา   โลกานุกัมปายะ   มะเนกะทุกขัง   อุสสาหะยิตตะวา   จะ   สุจีระการัง   พุทธัตตะ   ภาวัง   สะกะลัง   อะคัญฉิ   เอวัญจะ   กัตตะวา   ภะคะวา   ทะยาลุ   ทุกขา   ปาโมเจกะ   ขิเล   จะอัมเห   ทัสเสถะ   โน   ปาฏิหิรัง   สุวิมหัง   เฉทายะ   กังขัง   สะกะลัง   ชะนัสสะ   กาเกนะ   รัญญา   กะถิตันตุ   ยัง   ยัง   ตัง   ตัง   อะขีลัง   วิตะถัง   ตะถัง   เจ   พุทธานะกะถา   วิตะถา   ตะถา   เจ   ทัสเสถะ   วิยหัง   นะยะนัสสะ   โนปิ   อัชชะตัคเต   ปาณเปตัง   พุทธัง   ธัมมัง   สะระณังคะตา   สะมิมะหันตา   ภินนะมุตตา   จะมัชฌิมา   ภินนะตัณฑุลา   ชุททะกา   สาสะปะมัตตา   เอวัง   ธาตุโย  สัพพัฏฐาเน  อาคัจฉันตุสีเสเม  ปัตตันตุ   ฯ


คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ   (ประดิษฐานในองค์พระปฐมเจดีย์)
   วันทามิ   พุทธัง   ปะฐะมัง   จะ   เจติยัง   ตัตถะ   ปะติฏฐัง   ปะระมัง   จะ   ธาตุกัง   ธัมมัง   วะรันตัง   ภะวะโต   จะ   สาสะนัง   สังฆัง   วิสุทธัง   อุชุกัง   จะ   โสภะณัง   อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง   นะมัสสะมาโน   ระตะนัตตะยัง   ยัง   ปุญญาภิสันทัง   วิปุลัง   อะลัตถัง   ตัสสานุภาเวนะ   หะตันตะราโย   ฯ
   ข้าพเจ้าขอกราบไหว้   พระพุทธเจ้า   องค์พระปฐมเจดีย์   พระบรมสารีริกธาตุ   ซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในองค์พระปฐมเจดีย์นั้น
   ขอกราบไหว้พระธรรมอันประเสริฐสุด   ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า   ผู้ประเสริฐสุด
   ขอกราบไหว้พระสงฆ์ผู้งดงาม   ผู้บริสุทธิ์ยิ่ง   ผู้ประพฤติตรงต่อคำสอน ข้าพเจ้านมัสการอยู่ซึ่งพระรัตนตรัย   และองค์พระปฐมเจดีย์   อันเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุใด   ซึ่งควรนมัสการโดยส่วนเดียวเช่นนี้   ได้รับแล้วซึ่งกุศลผลบุญอันไพบูลย์   ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย   และผลบุญนั้น

คำไหว้พระธาตุรวม   หลวงพ่อเกษม  เขมโก   สุสานไตรลักษณ์   จ.ลำปาง
นโม   ๓   จบ
   วันทามิ   เจติยัง   สัพพัฏฐาเนสุ   ปติฏฐิตา   สรีระธาตุง   มหาโพธิง   พุทธะรูปัง   สกลัง   สทา   นาคะโลเก   เทวะโลเก   ตาวะติงเส   พรัหมะโลเก   ชัมพูทีเป   ลังกาทีเป   
   สรีระธาตุโย   เกสาธาตุโย   อรหันตา   ธาตุโย   เจติยัง   คันธะกุฏิ   จตุราสี   ติสะหัสสะ   ธัมมักขันธา   ปาทะเจติยัง   นะระเทเวหิ   ปูชิตา   อหังวันทามิ   ธาตุโย   อหังวันทามิ   ทูระโต   อหังวันทามิ   สัพพะโส
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)